Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:<3:การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของรกนํ้าครํ่า…
:<3:การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของรกนํ้าครํ่า เเละความผิดปกติของทารกในครรภ์ :<3:
ภาวะนํ้าครํ่าผิดปกติPolydramnios :red_flag:
การตั้งครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios polyhydramnios)
พยาธิสรีรวิทยา
ปริมาณของเหลวที่เข้าและออกจากถุงน้ำคร่ำมากหรือน้อยขึ้นกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น
สาเหตุ
ด้านมารดา ได้แก่ มารดาเป็นโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์การตั้งครรภ์แฝด
ด้านทารก ทารกที่ได้รับเลือดมาก ปริมาณน้ำคร่ำมากขึ้นทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis) ครรภ์แฝดที่มีภาวะแทรกซ้อน twin-to-twin transfusion syndrome
ความผิดปกติของมารดาและทารกในครรภ์จะพบความรุนแรงของภาวะครรภ์แฝดน้ำได้เล็กน้อยถึงปานกลาง
การจำแนกชนิด
ภาวะน้ำคร่ำมากอย่างเฉียบพลัน (Acute hydramnios)
มีอาการบวมที่ผนังหน้าท้องอวัยวะเพศและหน้าขาไม่สามารถคลำได้
ภาวะน้ำคร่ำมากเรื้อรัง (Chronic hydramnios)
ปริมาณน้ำคร่ำจะค่อยๆเพิ่มขึ้น
ผลต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
เกิดความไม่สุขสบายจากการกดทับของมดลูก
อาจเกิดการคลอดก่อนกำหนด
ช็อคจากความดันในช่องท้องลดลงอย่างรวดเร็ว
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อหลังคลอด
ผลต่อทารก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพิการและการคลอดก่อนกำหนด
เกิดภาวะ fetal distress จากการเกิดสายสะดือย้อย
มีปริมาณน้ำคร่ำมากทารกจึงหมุนเปลี่ยนท่าไปมาได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
แน่นอึดอัดหายใจลำบากเจ็บชายโครง
มีอาการบวมบริเวณเท้าขาและปากช่องคลอด
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติอาการและอาการแสดงการเกิดภาวะครรภ์แฝดน้ำ
การตรวจร่างกาย หน้าท้องขยายใหญ่มดลูกมีรูปร่างกลมมากกว่ารูปร่างไข่ คลำหาส่วนต่างๆของทารกได้ลำบาก ฟังเสียง FHS ไม่ได้ยิน น้ำหนักตัวมารดาเพิ่มมากขึ้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการการหาค่า amniotic fluid index (AFI)
การดูแลรักษา
การเจาะดูดน้ำคร่ำออก (amnioreduction)
การรักษาด้วยยา prostaglandin Synthetase inhibitors
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ให้ยาขับปัสสาวะหากพบมีภาวะบวม
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolytic drug)
การเจาะถุงน้ำงน้ำในระยะคลอด
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องในรายที่มีส่วนนำและท่าของทารกที่ผิดปกติ
ในระยะหลังคลอดหากมารดามีอาการตกเลือดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ประเมินการเกิดภาวะตั้งครรภ์แฝดน้ำ
ดูแลเพื่อบรรเทาอาการอึดอัดแน่นท้อง
2.1 จัดท่ามารดานอนตะแคงยกศีรษะสูงเล็กน้อยประมาณ 30 องศา
2.2 สังเกตภาวะ Congestive heart failure
2.3 แนะนำให้มารดารับประทานอาหารที่ย่อยง่ายครั้งละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้ง
2.4 แนะนำให้มารดาสวมใส่เสื้อผ้าที่หลวมสบาย
2.5 ดูแลให้ได้รับการเจาะดูดน้ำคร่ำออกตามแผนการรักษาของแพทย์
2.6 เฝ้าระวังและตรวจติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์
ระยะคลอด
ให้นอนพักบนเตียงเพื่อป้องกันภาวะน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ฟัง FHS ในระยะ latent ทุก 30 นาทีและระยะ active ทุก 15 นาที
ให้ได้รับสารน้ำและอาหารตามแผนการรักษา
ขณะแพทย์เจาะถุงน้ำต้องระมัดระวังให้น้ำคร่ำไหลออกมาอย่างช้าๆ
ระยะหลังคลอด
ดูเเลการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดทำให้เกิดภาวะนี้ได้ 26-35%
ทารกในครรภ์มีภาวะผิดปกติ
ความผิดปกติของโครโมโซมเช่น trisomy 18, turner Syndrome เป็นต้น
รกเสื่อมสภาพ
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
มีโอกาสผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้องทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ fetal distress
ผลต่อทารก
ทารกมักมีความพิการรุนแรง
ภาวะปอดแฟบ (pulmonary hypoplasia)
Amniotic band syndrome คือการเกิดเยื่อพังผืดรัด
ทารกอยู่ในภาวะคับขัน (fetal distress)
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
การวินิจฉัย
การวัดโพรงน้ำคร่ำที่ลึกที่สุดในแนวดิ่ง (maximum ventrical pocket, MVP)
การวัดดัชนีน้ำคร่ำ amniotic fluaid index (AF) มีค่าน้อยกว่า 5 เซนติเมตร
ในกรณีที่อายุครรภ์น้อยกว่า 10 สัปดาห์
การรักษา
การเติมน้ำคร่ำ (amnioinfusion) ด้วย normal saline / fringers lactate 5% glucose
การดื่มน้ำมาก ๆ
การประเมินภาวะความผิดปกติ การรักษาภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
การพยาบาล
อธิบายถึงสาเหตุการเกิดภาวะดังกล่าวและแนวทางการรักษา
ดูแลให้ได้รับการใส่สารน้ำเข้าไปในถุงน้ำคร่ำ
รับฟังปัญหาแสดงความเห็นอกเห็นใจและกระตุ้นให้ระบายความรู้สึก
ทารกพิการเเต่กำเนิด :red_flag:
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
ความผิดปกติของโครโมโซม
ความผิดปกติของยีนเดียว
ความผิดปกติชนิดพหุปัจจัย
สิ่งแวดล้อม
การใช้ยาการติดเชื้อสภาพของมารดาและปัจจัยจากมดลูก
การป้องกัน
1 ให้คำแนะนำปรึกษาทางพันธุศาสตร์ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์โดยการชักประวัติ
2 เมื่อตั้งครรภ์จะทำการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
3 การให้คำปรึกษาภายหลังการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
4 หลีกเลี่ยงการสัมผัส teratogen
ภาวะจิตสังคมของครอบครัวที่ต้องเผชิญกับภาวะมีบุตรพิการแต่กำเนิด
ระยะคลอด
มักจะมีความเครียดกลัววิตกกังวลเนื่องจากไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าว่าผลการคลอดจะเป็นอย่างไร
ระยะหลังคลอด
ส่วนใหญ่ครอบครัวจะกลับเข้าสู่ภาวะเดิมอีก คือ ช็อค ปฏิเสธ เเละกลัว
ระยะตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์มักจะเกิดความเครียดและวิตกกังวลสูงเมื่ออยู่ในระยะที่ต้องตัดสินใจตรวจสอบความผิดปกติของทารกในครรภ์
โรคที่ทารกพิการเเต่กำเนิด
ปากเเหว่งเพดานโหว่
ดาวน์ซินโดรม
ทารกศีรษะบวมนํ้าhydrocephalus
ทารกศีรษะเล็กmicrocephaly
ภาวะหลอดประสาทไม่ปิด neural tube defects
เยื่อหุ้มไขสันหลังยื่นspina bifida
การตั้งครรภ์ที่ทารกมีจำนวนมากกว่า1คนMultiple :red_flag:
สาเหตุ
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้ (monozygotic twins / identical twins)
แฝดที่เกิดจากไข่คนละใบหรือแฝดเทียม (dizygotic twins / fratemal)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์
มีฮอร์โมน hCG มากกว่าครรภ์เดี่ยวบางครั้ง
มีการเพิ่มขึ้นของ blood volume
การตกเลือดก่อนคลอด
เกิดภาวะความดันโลหิตสูง
ไม่สุขสบายจากอาการปวดหลังหายใจลำบาก
เสี่ยงต่อการแท้งสูงหรือคลอดก่อนกำหนด
เกิดถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ตั้งครรภ์แฝดน้ำ
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์ (gestational diabetes)
ระยะคลอด
กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ระยะหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอดพบได้มากกว่าครรภ์เดี่ยว
การติดเชื้อหลังคลอด
การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอาจเกิดความยากลำบาก
ผลต่อทารก
การแท้ง
ทารกตายในครรภ์
ภาวะคลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (LUGR)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกขาดออกซิเจน (asphyxia)
Twin-twin transfusion Syndrome (TITS) ในรายที่เป็น monochoion
แนวทางการดูแลรักษา
ต้องวินิจฉัยให้ได้เร็วที่สุด (early diagnosis)
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ดูแลการเจริญเติบโตของทารกอย่างใกล้ชิด
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะอันตรายต่อทารก
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับอาหารอย่างเพียงพอ
เฝ้าระวังการเกิดภาวะโลหิตจาง
เฝ้าระวังการความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์
ควรงดมีเพศสัมพันธ์
ติดตามการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ระยะคลอด
การพิจารณาวิธีการคลอด
1.1 การคลอดทางช่องคลอดทารกแฝด
1.2 การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ในรายที่ได้รับการประเมินจากสูติแพทย์ให้คลอดทางช่องคลอด
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
แนะนำการดูแลบุตรการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
แนะนำวิธีการคุมกำเนิด
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์(Intra Uterine Growth Restriction: IUGR) :red_flag:
สาเหตุ
ด้านมารดา
มารดามีรูปร่างเล็ก
ภาวะขาดสารอาหารน้ำหนักของมารดาไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจางรุนแรงเช่นโรคธาลัสซีเมีย
มารดามีภาวะติดเชื้อ
โรคของมารดาเช่นโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานโรคไตเรื้อรัง
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพของมารดา
การตั้งครรภ์แฝดมักทำให้มวลของรกต่อทารกแต่ละคนลดลง
ด้านทารก
ความพิการ แต่กำเนิดความผิดปกติของโครงสร้างและอวัยวะของร่างกาย
การติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์
ความผิดปกติของโครโมโซม
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
2.1 ขนาดของมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์ 3 เซนติเมตรขึ้นไป
2.2 การชั่งน้ำหนักของสตรีตั้งครรภ์
การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง (ultrasound)
การรักษา
การซักประวัติของมารดาการตรวจด้วย U / S เพื่อค้นหาความพิการของทารกโดยละเอียดการตรวจโครโมโซม
ตรวจเฝ้าระวังสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิดโดยการตรวจ U / S ทุก 2-3 สัปดาห์
กำหนดเวลาการคลอดที่เหมาะสม
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
เเนะนำมารดาเกี่ยวกับการรับประทานอาหารหลีกเลี่ยงการใช้ยา
แนะนำให้มารดาพักผ่อนมาก ๆ
ติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์
ระยะคลอด
ควรติดตามประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ติดตามประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและเสียงหัวใจทารกทุก 2-1 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการให้ยาแก้ปวดเนื่องจากยาจะกดการหายใจของทารกได้
กุมารแพทย์และเตรียมอุปกรณ์
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังและป้องกันการเกิดภาวะ hypoglycemia, hypothermia,
ทารกตายในครรภ์Fetal demise :red_flag:
สาเหตุ
ด้านทารก
ทารกมีภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
มีการกดทับสายสะดือจากสายสะตือย้อย (prolapsed cord)
มีภาวะพิการแต่กำเนิด
ด้านมารดา
มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์โรคทางอายุรศาสตร์
มารดาอายุมากกว่า 35 ปี
ภาวะทางสูติกรรม
ไม่มาฝากครรภ์หรือมาฝากครรภ์ไม่ครบตามกำหนด
มีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนดรกเกาะต่ำ
ความผิดปกติของสายสะดือ
ได้รับอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บขณะตั้งครรภ์
ยาหรือสารเสพติดอื่น ๆ
ต้านรก
รกลอกตัวก่อนกำหนดการติดเชื้อในโพรงมดลูก
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติมารดาพบทารกไม่ดิ้น
การตรวจร่างกาย
1 น้ำหนักตัวของมารดาคงที่หรือลดลงเต้านมมีขนาดเล็กลง
2 คลำยอดมดลูกพบว่าไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์ไม่พบว่าทารกมีการเคลื่อนไหว
3 ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้
4 พบสิ่งคัดหลั่งสีน้ำตาลไหลออกทางช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยการ ultrasound
1 ทารกไม่มีการเต้นของหัวใจ
2 การเกยกันของกะโหลกศีรษะ (overlapping)
3 มีการหักงอของกระดูกสันหลัง
4 ตรวจพบแก๊สในหัวใจเส้นเลือดใหญ่
5 ฮอร์โมน Estrial: E3 ในปัสสาวะลดลงหลังจากทารกเสียชีวิตแล้ว 24-48 ชั่วโมง
6 เอ็นไซม์ Amniotic fluid creatinekinase เพิ่มขึ้น
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ด้านจิตใจ
เกิดความรู้สึกสูญเสียตกใจซึมเศร้าโทษตัวเอง
ด้านร่างกาย
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัว (coagulopathy)
มารดาจะมีภูมิคุ้มกันของร่างกายต่ำลงการทำหน้าที่ของ T-cell ลดต่ำลงมีโอกาสติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียได้ง่ายขึ้น
การรักษา
1.ขนาดของมดลูกโตไม่เกิน 14 สัปดาห์ทำการ dilatation and Curettage หรือ suction Curettage
การตั้งครรภ์เหน็บยา prostaglandin ได้แก่ PGE2 และ misoprostol ทางช่องคลอด
การตั้งครรภ์ให้ Oxytocin ปริมาณความเข้มข้นสูงทางหลอดเลือดดำ
การพยาบาล
แสดงความเห็นอกเห็นใจใช้คำพูดที่สุภาพและนุ่มนวล
แนะนำให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจปลอบใจ
ประเมินความต้องการสัมผัสกับทารกแรกคลอดที่เสียชีวิต
ดูแลให้ได้รับการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ตามแผนการรักษาของแพทย์
ติดตามผลการตรวจเลือดนกรณีที่ทารกตายในครรภ์เกิน 2 สัปดาห์
ให้ได้รับยายับยั้งการหลั่งน้ำนมตามแผนการรักษาของแพทย์
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3: