Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ Pregnancy Induced Hypretension :PIH -…
ความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ Pregnancy Induced Hypretension :PIH
ความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ140/90 mmHg ในช่วงอายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ มีโปรตีนในปัสสาวะและมีอาการบาม โดยเกิดตั้งแต่ระยะคลอดจนถึงระยะหลังคลอด
Pre - Eclampsia เป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่มีโปรตีนในปัสสาวะและมีอาการบวมร่วมด้วย
Mild Pre - Eclampsia
ชนิดรุนแรงน้อย
Diastolic ไม่เกิน 110mmHg
Urine protein 24 hr. มากกว่าหรือเท่ากับ 300mg มีโปรตีนในปัสสาวะ 1+ โดยตรวจด้วย dipstick
Systoli ไม่เกิน 160 mmHg
มีอาการบวมบริเวณขา
ตรวจพบความดันโลหิตสูง มากกว่าหรือเท่ากับ140/90 mmHg ถึงน้อยกว่า 160/110 mmHg
ชนิดรุนแรง
Urine protein 24 hr. มากกว่าหรือเท่ากับ 500mgมีโปรตีนในปัสสาวะ 2+ โดยตรวจด้วย dipstick
มีอาการบวมบริเวณแขน ขา หรือทั้งตัว
ตรวจพบความดันโลหิตสูง มากกว่าหรือเท่ากับ160/110 mmHg
Eclampsia เป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่มีโปรตีนในปัสสาวะ มีอาการบวมและอาการชักร่วมด้วย
สาเหตุ
การหดเกร็งของเส้นเลือด Vasoactive compounds
การเปลี่ยแปลงภายในผนังหลอดเลือดชั้นใน
การขาดสารอาหาร Dietary deficiencies กาารขาดแคลเซียมทำให้มีอาการมือชา ชักง่าย
พันธุกรรม Genetic predisposition
กลไกสร้างภูมิคุ้มกัน Immunological mechanism มาจากภูมิต้านทานที่มีต่อเชื้อโรคในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ไม่พอ การติดเชื้อก่อนการตั้งครรภ์มีผลทำให้เกิดความดันโลหิตสูงมากขึ้น
ปัจจัยเสี่ยง
เป็ฯโรคเบาหวานหรือโรคไต
Multifetal pregnancy
บุคคลในครอบครัวมีประวัติภาวะความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์มาก่อน
Hydatidiform mole
เคยผ่านการคลอดมาแล้วหลายครั้งและมีอายุมากกว่า 35ปี
Hydrops fetalis
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ มักพบในครรภ์แรก
ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
อายุครรภ์น้อยกว่า 20สัปดาห์
ผลกระทบ
ต่อมารดา
น้ำท่วมปวด/น้ำใในโพรงเยื่อหุ้มปอด
เลือดอออกในสมอง
เกิดอาการชัก
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
เกล็ดเลือดต่ำ
ต่อทารก
ทารกขาดออกซิเจน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
IUGR
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ต่อการตั้งครรภ์
ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
ตับ-เกล็ดเลือดต่ำ <100,000/cm
เกิดภาวะ DIC
ภาวะ HELLP syndrome เกิดในภาวะ Severe preeclampsia
การกรองไตลดลง เกิดโปรตีนในตับ
การรักษา
Severe Pre - Eclampsia
ให้พักผ่อนบนเตียงตลอดเวลา
V/S ทุก 4 ชม
บันทึก I/O
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC : HB HCT PLateles
BUN Creainine Uric acid
ตรวจหาโปรตีนในปัสสาวะ 24 ชม.
ตรวจสอบการแข็งตัวของเลือด
ให้ยากันชัก Magnesium sulfate
ให้ Maintain dose ผสม 50% MgSo4 10 กรัม ในน้ำเกลือ 1000 ml. จนครบ 24 ชม.หลังคลอด
50% MgSo4 10-20กรัม ในน้ำเกลือ 5% D/w 1000 ml.
20% MgSo4 ทางหลอดเลือดดำ อย่างน้อย 5 นาที
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ม๊โอกาสเกิดภาวะชักในระยะช่องก่อนคลอดเนื่องจากความดันโลหิตสูงขณธตั้งครรภ์
ข้อมูลสนับสนุน
ความดันโลหิต 150/100 - 175/119 mmHg
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะวัก
เกณฑ์การประเมิน
ความดันโลหิตอยู่ระหว่าง 100/70 -130/80 mmHg
ไม่มีอาการนำชัก ปวดศีรษธ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่
กิจกรรมการพยาบาล
จัดท่าให้ผู้คลอดนอนพักในท่าตะแคงซ้ายเพื่อลดอาการกดทับเส้นเลือดอินฟีเีย เวคานาวา
ประเมินอาการนำชัก ได้แก่ อาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว
อธิบายให้ผู้คลอดทราบถึงพยาธิสภาพของการนำสู่อาการชักและอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากอาการชัก
ให้ยา 50% MgSo4 10 กรัม สังเกตอาการไม่พึ่งประสงค์ เช่น อัตราการหายใจน้อยกว่า 14 ครั้ง/นาที ปัสสาวะออกน้อยกว่า 30 ml/hr รายงานแพทย์
ประเมินระดับความรู้สึกตัว ทุก 1 ชม. และรายงานแพทย์เมื่อมีอาการเปลี่ยนแปลง
จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพักผ่อน ทำกิจกรรมต่างๆบนเตียง
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ เพื่อประเมินความรุนแรงของโรค
อ้างอิง ผศ.ดร.บังอร ศุภวิทิตพัฒนา และ ดร.ปิยะพร ประสิทธิ์วัฒนเสรี.(บรรณาธิการ).(2562).การพยาบาลและการผดุงครรภ์สตรีที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน.คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่