Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะ Birth Asphyxia, 3055, images, นางสาวอุทุมพร…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะ Birth Asphyxia
การรักษาจำแนกตามความรุนแรงของการขาดออกซิเจน
moderate asphyxia
ให้ออกซิเจน 100% และช่วยหายใจด้วย mask และbag เมื่อดีขึ้นจึงใส่ feeding tube เข้ากระเพาะอาหารเพื่อดูดลมออก ถ้าไม่ดีข้ึนหลังช่วยหายใจนาน 30 วินาที ใส่ ET tubeและนวดหัวใจ
severe asphyxia
ให้การช่วยเหลือโดยช่วยหายใจทันทีที่คลอดเสร็จ โดยใส่ ET tube และช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% ผ่าน bag ร่วมกับการนวดหวัใจ ถ้าไม่ดีขึ้นจึงรักษาด้วยยา
mild asphyxia
ให้ความอบอุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นการหายใจ ให้ออกซิเจนผ่านสายออกซิเจนหรือ mask ถ้าอาการดีข้ึน มีคะแนน APGAR ที่ 5 นาที >8 คะแนน ให้ดูแลต่อเหมือนทารกทั่วไป ถ้าคะแนน APGAR ที่ 5 นาที < 4 คะแนน ดูแลเหมือนทารกที่มีภาวะmoderate asphyxia
อาการและอาการแสดง
ระยะคลอด
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
แรกคลอดทันทีมีคะแนน APGAR ต่ำกว่า 7 ทารกสีผิวเขียว ไม่หายใจกล้ามเนื้ออ่อนแรง ปฏิกิริยา
ตอบสนองลดลง หรือหัวใจเต้นช้า
อาการในระยะหลังคลอดต่อมา เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะในระบบต่างๆ ที่เห็นชัดเจนมากที่สุดก็คือ ระบบประสาทส่วนกลาง หัวใจ และระบบหายใจ
ระยะตั้งครรภ์หรือก่อนคลอด
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติและต่อมาจะมีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่าปกติ อัตราการเต้นของหัวใจทารกในระยะแรกจะเร็วมากกว่า 160คร้ัง/นาทีต่อมาจึงชา้ลง
กลไกการเกิด
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้อง มีการหยุดไหลเวียนหรือไหลเวียนลดลง
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก ซึ่งเกิดจากรกมีการแยกตัวออกจากมดลูก
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโดยผ่านทางรกไม่เพียงพอ
ปอดทารกขยายไม่เต็มที่และการไหลเวียนเลือดยังคงเป็นแบบทารกในครรภ์ไม่สามารถปรับเป็นแบบทารกหลังคลอดได้และไม่พัฒนาเป็นแบบผู้ใหญ่
การรักษา
การกระตุ้นทารก
(tactile stimulation)
การช่วยหายใจ(ventilation) การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก โดยใช้ mask และ bag
การให้ออกซิเจน
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
(clearing the airway)
กรณีไม่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ หลังจากศีรษะทารกคลอด ใช้ลูกสูบยางแดงดูดสิ่งคัดหลั่งในปากก่อนแล้วจึงดูดในจมูก การดูดที่ดีควรทำเมื่อไหล่คลอดและดูดให้หมดก่อนคลอดลำตัว
กรณีมีขี้เทาปน ไม่ว่าจะมีขี้เทาใสหรือขุ่น ข้น ปนในน้ำคร่ำ ต้องรีบดูดขี้เทาออกทันทีที่ศีรษะทารกคลอด โดยใช้สายดูดเสมหะ หรือใช้ลูกสูบยางแดง แล้วจึงทำคลอดลำตัว ถ้าทารกไม่หายใจ ตัวอ่อน หัวใจเต้นช้กว่า100คร้ัง/นาที ใส่endotracheal tube ดูดข้ีเทาออกจากคอหอยและหลอดคอใหม้ ากที่สุด
การให้ความอบอุ่น
การใส่ท่อหลอดลมคอ
การนวดหัวใจ(Chest compression) มีขอ้บ่งช้ีในการทา คืออัตราการเต้นของหัวใจทารกยังคงน้อยกว่า 60 คร้ัง/นาที ขณะที่ได้ช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% นาน 30วินาที
การให้ยา (medication)
การพยาบาล
การดูแลให้ทารกได้รับสารน้ำและสารอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการของ ร่างกาย
การป้องกันการติดเชื้อโดยปฏิบัติการพยาบาลด้วยวิธีการที่ปลอดเชื้ออย่างเคร่งครัด
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติอุณหภูมิร่างกาย 36.8-37.2องศาเซลเซียส
กระตุ้นประสาทสัมผัส และส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา อารมณ์สังคม และจิตใจ เพิ้อให้ทารกมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
การดูแลเรื่องการหายใจและการให้ออกซืเจน
การช่วยเหลือครอบครัวให้เผชิญกับความเครียด ความวิตกกังวลได้และ
สามารถปรับตัว
สังเกตอาการขาดออกซิเจน เช่น ริมฝี ปากและปลายมือปลายเท้าซีดเขียว หายใจปีก จมูกบาน หายใจออกมีเสียงคราง หน้าอกบุ๋ม หรืออาการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ เพื่อให้การช่วยเหลือ
บันทึกอัตราการหายใจ
นางสาวอุทุมพร บุญเดช 611001072