Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลอดเลือดดำตีบ(Deep vein thrombosis) - Coggle Diagram
หลอดเลือดดำตีบ(Deep vein thrombosis)
พยาธิสภาพ
เส้นหลอดเลือดดำจะนำเลือดที่ใช้แล้วกลับสู่หัวใจ โดยอาศัยการบีบตัวของกล้ามเนื้อ ร่วมกับลิ้นในหลอดเลือดดำ หลอดเลือดดำที่ขามี 2 ชนิดคือหลอดเลือดดำที่ผิว superficial veinที่สามารถเห็นได้ด้วยตา ซึ่งจะนำเลือดจากผิวไปสู่หลอดเลือดดำส่วนลึก deep veinซึ่งจะอยู่ในกล้ามเนื้อ หลอดเลือดด าลึกก็จะน าเลือดไปยังหลอดเลือดดำใหญ่ในท้อง inferior venacava
อาการ
อาการอาการที่สำคัญคืออาการบวมที่เท้าเนื่องจากการไหลกลับของเลือดไม่ดีมักจะบวมข้างเดียว บางรายอาจจะเห็นเส้นเลือดโป่งพอง อาจมีการปวดกล้ามเนื้อ เป็นตะคริว โดยเฉพาะเวลากระดกข้อเท้าจะทำให้ปวดมากขึ้น
ผู้ป่วยบางรายอาจจะไม่มีอาการที่เท้าอาจจะมาพบแพทย์ด้วยเรื่องหอบเหนื่อยเนื่องจากลิ่มเลือดไปอุดในปอด (PE)
การวินิจฉัย
ประวัติ เช่นนอนบนเตียงเป็นเวลานานโดยไม่เคลื่อนไหว
การตรวจร่างกายพบ
ขาบวม ต้องวัดขนาดเปรียบเทียบกับขาอีกข้างหนึ่งในตำแหน่งเดียวกันที่วัดต่ำกว่าหัวเข่า10ซม
กดเจ็บบริเวณแนวหลอดเลือดดำที่ขา คลำหลอดเลือดด าได้เป็นลำแข็งในแนวของgreater และ lesser saphenous vein ร่วมกับไข้ต่ำๆ
ปวดน่องเวลาท า dorsiflex ข้อเท้า (Positive Homans’ signs) เมื่อจับปลายเท้ากระดกเข้าหาตัวโดยที่เข่าเหยียดตรง (เรียกการตรวจนี้ว่า Homans Sign) จะมีอาการปวด
ผิวหนังบริเวณขาข้างที่มีอาการอุ่นกว่าขาข้างที่ไม่มีอาการ
หลอดเลือดดำขยายตัวหรือหลอดเลือดโป่งพอง
สีผิวเปลี่ยนอาจซีดแดงหรือเขียวคล้ำ
การตรวจพิเศษ
Duplex Dropple Compressureultrasound เป็นการตรวจที่สามารถดูได้ทั้งกายวิภาคของหลอดเลือด ขอบเขตและชนิดของลิ่มเลือด
Contrast venography เป็น gold-standard ในการวินิจฉัย DVT เชื่อถือได้แน่นอนที่สุดร้อยละ 95-100 โดยฉีด iodine-containing contrast agent เข้าไปในหลอดเลือดดำที่ขาผลการตรวจสามารถบอกตำแหน่งและความยาวของหลอดเลือดดำที่อักเสบได้
venography คือการฉีดสีเข้าไปในเส้นเลือดที่สงสัยเพื่อดูว่ามีลิ่มเลือดอุดหรือไม่ แต่ให้ผลการตรวจไม่แม่นยำ และอาจจะเกิดอาการแพ้จึงไม่นิยม
venous ultrasound เป็นการใช้ ultrasound ช่วยในการวินิจฉัย วิธีนี้ไม่เจ็บปวดให้ผลดี
MRI
หากวินิจฉัยว่าเป็น DVT จะต้องรีบให้การรักษาโดยรับตัวไวในโรงพยาบาลแพทย์จะเลือกให้heparin หรือ low molecular weight heparin หลังจากนั้นต้องให้warfarinเพื่อป้องกันลิ่มเลือดอีก 3เดือน
การป้องการคือการลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดด าลึกและการป้องกันเส้นเลือดขอด
การรักษา
การรักษาทางกายภาพ
ใช้เครื่องบีบไล่เลือดเป็นจังหวะ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกจากเตียง
การออกกำลังกายข้อเท้า
ใช้ถุงน่องผ้ายืด (elastic antiembolism stockings ,TEDS) ช่วยป้องกันการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำโดยช่วยบีบรัดหลอดเลือดดำ ทำให้เพิ่มความเร็วในการไหลเวียนกลับของเลือดหลอดเลือดดำ โดยช่วยบีบรัดหลอดเลือดดำ ทำให้เพิ่มความเร็วในการไหลเวียนกลับของเลือดดำจากอวัยวะส่วนปลาย ลดการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำบริเวณขา
ใช้ยา Anticoagulant
Low molecular weight heparin (LMWH) ได้แก่ Enoxaparin 1 mg/kg subcutaneousทุก 12 ชั่วโมง อาจใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในการป้องกันได้ในรายที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกและข้อนอนนานโดยไม่เคลื่อนไหว เป็นต้น
Wafarin ใช้ร่วมกับ LMWH ตั้งแต่วันแรก
การพยาบาล
แนะนำการออกกำลังกายป้องกัน
แนะนำการรับประทานอาหารวิตามินซีและอีสูง
งดบุหรี่
Early ambulation
วัดรอบน่อง
ดูแลให้ยาละลายลิ่มเลือดตามแผนการรักษา