Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการจัดการความกลัวในเด็กวัยก่อนเรียน ทางได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ,…
แนวคิดการจัดการความกลัวในเด็กวัยก่อนเรียน
ทางได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ความกลัวของเด็กวัยก่อนเรียน เด็กวัยก่อนเรียนจะมีจินตนาการสูงไม่สมเหตุสมผล ควบคุมตนเองไม่ได้ เจ้าอารมณ์
เด็กจะมีการตอบสนอง3ด้านได้แก่
2 ด้านสติปัญญา จะเกี่ยวข้องกับการนึกคิดเกี่ยวกับประสบการณ์ที่เกิดขึ้น
3 ด้านพฤติกรรม จะแสดงออกทางด้านร่างกายทั้งคำพูด
เช่น ดิ้นขัดขืน สีหน้าเคร่งเครียด กัด หยิกเตะ ปาสิ่งของ เป็นต้น
1 ด้านสรีวิทยา
เกี่ยวรับระบบประสาทอัตโมัติ จะหลั่งอดีนาลีน เพิ่มขึ้น หัวใจเต้นเร็ว หายใจเพิ่มขึ้น
การประเมินความกลัวในเด็กวัยก่อนเรียน
(Children’s Fear Assessment)
ด้านพฤติกรรม
แสดงสีหน้า
การร้องไห้
น้ำเสียง คำพูด
การยึดจับ ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่
การวัดทางสรีวิทยา
อัตราการหายใจ
อัตราการเต้นของหัวใจ
อุณหภูมิร่างกาย
การมีเหงื่อ คงามตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความดันโลหิต
การประเมินด้วยตนเอง
ประเมินความกลัว การแสดงออกทางใบหน้า ให้เด็กเลือกภาพระดับบความกลัว
เด็กสามารถบอกความรู้สึกตนเอง
การประยุกต์แนวคิดการจัดการความกลัวในเด็กวัยก่อนเรียนกับการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1 ขั้นตอนก่อนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
2ทีมสุขภาพต้อนรับด้วยความเป็นมิตรยิ้มแย้มแจ่มใส พูดคุยแนะนำตัวทักทายด้วยน้ำเสียงที่เหมาะกับอายุ
3จัดเตรียมอุปกรณ์ เช่นชุด ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เข็ม สำลี แอลกอฮอล์ กระปุกหลอดเลือดดำ ถุงมือ พลาสเตอร์ สายรัดแขน
1จัดหอผู้ป่วยเด็กให้ปลอโปร่งมีแสงสว่างเพียงพออากาศถ่ายเทสะดวก
4อนุญาตให้เด็กนำของเล่นที่ชอบ เช่นตุ๊กตา เพื่อจะสามารถลดความวิตกกังวลของเด็กลงได้
2 การเตรียมเด็ก
1 การให้ข้อมูลเกี่ยวกับสารน้ำ หลอดเลือดดำ ฝึกซ้อมให้เด็กเผชิญกับขั้นตอนของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เช่น การเล่านิทานแสดงให้เด็กเป็นบทบาทสมมติ ควรหลีกเลี่ยงการพูด แทง เจาะ จิ้ม เพราะเด็กวัยนี้มีจิตนาการไม่สมเหตุสมผล
2 สอบถามความรู้สึกของเด็กต้อการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยใช้แบบประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
และคำพูด เช่น การร้องไห้ แสดงสีหน้าการยึดจับสิ่งของ
ผู้ปกครอง
3 การเตรียมผู้ปกครอง
1แนะนำข้อมูลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำรวมถึงอธิบายความรู้สึกความเจ็บปวดที่เกิดกับเด็ก
2 แนะนำให้ผู้ปกครองได้เข้าร่วมในการช่วยเหลือเด็ก แนะนำเล่นอุปกรณ์ในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และการให้ความช่วยเหลือเด็กเมื่อเกิดความเจ็บปวด ความกลัว
2 เมื่อเด็กรู้สึกเจ็บขณะให้สารน้ำผู้ปกครอง ารมรถพูดปลอบโยน ให้กำลังใจเด็กได้
3 การเบี่ยงเบนความสนใจผู้ปกครองหรือพยาบาลสามารถเปิดเสียงเพลง เปิดการ์ตูนให้เด็กดูได้
1ผู้ปกครองสามรถเล่นอุปกรณ์กับเด็กขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1 การจัดท่า ให้เด็กนอนในท่าที่สบายผ่อนคลาย ให้ผู้ปกครองช่วยโอบกอด เพื่อให้เด็กอุ่นใจ รู้สึกผ่อนคลาย เด็กจะไม่รู้สึกโดดเดี่ยว
2 การเบี่ยงเบนความสนใจ
2 ให้พยาบาลหรือผู้ปกครอง ลูบสัมผัสอย่างนุ่มนวล บริเวณแขนที่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
3 การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ให้ความอบอุ่นปลอบโยน สัมผัสขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1 ผู้ปกครองโอบกอดเด็กอย่างนุ่มนวล
ผู้ปกครองสามารถนำของเล่นที่เด็กชอบ เข้ามาได้
3 ผู้ปกครองสามรถพูดคุย กับเด็กได้ตลอดเวลา เพื่อลดความกลัวของเด็ก
1 ใช้อุปกรณ์ของเล่นที่มีเสียง แสง พูดคุย ดูการ์ตูน ฟังเพลง เล่นเกมส์ เล่านิทาน
3 ขั้นตอนการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเมื่อสิ้นสุดการให้
เด็กรู้สึกถึงความเจ็บปวดให้กำลังใจปลอบโยนเปิดโอกาส
ให้เด็กระบายความรู้สึกการเสริมแรงทางบวกให้รางวัลให้สติกเกอร์
ให้เด็กรู้สึกภูมิใจในตนเอง
การจัดการกับความกลัวในเด็กวัยก่อนเรียน
การจัดการนี้เป็นบทบาทอิสระพยาบาลสามารถช่วยเหลือให้เด็กสามารถเผชิญความกลัวได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นวิธีสำคัญเพื่อลดความเครียด
2การผ่อนคลายความตึงเครียด และเบี่ยงเบนความสนใจ เป็นวิธีที่เด็กได้ระบายความรู้สึก ได้แสดงออกถึงความกลัว ซึ่งจะเป็นวิธีในการพูด การลูบสัมผัสที่นุ่มนวล การโอบกอด การปลอบโยนให้กำลังใจ การเบี่ยงเบนความสนใจจะต้องคำนึงถึงสิ่งที่เด็กชอบและคุ้นชิน เช่น ของเล่นที่เด็กชอบหรือตุ๊กตา ให้เขาได้สัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดกับสิ่งๆนั้น สร้างกำลังใจเสริมแรงทางบวก เช่นคำชมเชย รางวัลอย่างเป็นรูปธรรม
3การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง คือการให้ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก ผู้ปกครองจะสามารถควบคุมความตอบสนองทางด้านร่างกาย จิตใจและอารมณ์ของเด็กได้ดี เด็กจะรู้สึกอบอุ่นและลดความกลัวลงได้ เกิดความมั่นคงทางด้านจิตใจของเด็ก
1 การให้ข้อมูล อธิบายการให้สารน้ำ เตรียมข้อมูลก่อนให้กิจกรรมการพยาบาล สร้างสัมพันธภาพและการจัดการความกลัว เช่นลักษณะนิสัย ของเล่นส่วนตัว ประสบการณ์การได้รับทำหัตถการ การเล่านิทานประกอบ การให้เด็กเล่นเป็นบทบาทสมมติ เกี่ยวกับการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เด็กจะได้เข้าใจขั้นตอนและคลายความกลัว
4การจัดสิ่งแวดล้อมบรรยากาศในโรงพยาบาลต้องคล้ายบ้านมากที่สุด เพื่อเพิ่มความสดชื่น อบอุ่นสายตาและจิตใจของเด็กและช่วยลดปฏิกิริยาทางจิตใจแก่เด็ก มีแสงสว่างมากพอ พื้นที่สะอาดปลอดโปร่ง