Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดด้านสุขภาพ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ, นางสาวศรีสุดา …
แนวคิดด้านสุขภาพ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
แนวคิดทางนิเวศวิทยาของพฤติกรรมสุขภาพ
ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่างปัจเจกบุคคลที่อาศัยอยู่ในระบบและความสัมพันธ์ในลักษณะการพึ่งพิงกันระหว่างสมาชิกหรือองค์ประกอบของระบบ
ความสำคัญของการใช้โมเดลนี้เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพเน้นที่การปรับเปลี่ยนปัจจัยของบุคคลและสิ่งแวดล้อมทางสังคม (social environments)
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
ใช้เพื่ออธิบายความล้มเหลวของโครงการตรวจคัดกรองวัณโรคที่เกิดจากประชาชนส่วนใหญ่ไม่ให้ความร่วมมือกับโครงการ ถึงแม้ว่าจะเป็นการบริการที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ก็ตาม
ประกอบด้วย 6 ตัวแปร
1.การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค (perceived susceptibility)
2.การรับรู้ความรุนแรงของโรค (perceived severity)
รับรู้ภาวะคุกคาม (perceived threat)
การรับรู้ประโยชน์ (perceived benefit)
การรับรู้อุปสรรค (perceived barriers)
ปัจจัยร่วม (modifying factors)
การส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
พัฒนามาจากการสังเคราะห์ผลการวิจัยต่าง ๆ ที่เกิดจากการทดสอบแบบจำลองโดยการศึกษาตัวแปรหรือมโนทัศน์ย่อย ๆ ในแบบจำลอง
สามารถสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างมโนทัศน์ต่าง ๆ ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้บุคคลเกิดแรงจูงใจในการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ทฤษฎีความสามารถตนเอง
พฤติกรรมของคนเราไม่ได้เกิดขึ้นและเปลี่ยนด้วยสิ่งแวดล้อมอย่างเดียว จะต้องมีปัจจัย 3 ปัจจัยร่วมด้วยได้แก่
เงื่อนไขเชิงพฤติกรรม
เงื่อนไขเชิงสภาพแวดล้อม
ปัจจัยส่วนบุคคล
องค์ประกอบที่สำคัญ
การรับรู้ความสามารถของตนเอง
ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ
การได้เห็นประสบการณ์ผู้อื่น
การใช้คำพูดชักจูง
การกระตุ้นอารมณ์
2.ความคาดหวังผลลัพธ์ของการปฏิบัติ
มิติระดับความคาดหวัง
มิติความเข้มแข็งของความมั่นใจ
มิติที่เป็นสากลเป็นความคาดหวัง
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
1.Precontemlation
เป็นระยะที่คนยังมองไม่เห็นปัญหาของตัวเอง ไม่คิดจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตัวเอง เพราะคิดว่า ทุกวันนี้มันก็ดีอยู่แล้ว
Comtemplation
เป็นระยะที่คนเริ่มมองเห็นปัญหา และมองถึงผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต แต่ก็ได้แค่คิดแต่ยังไม่ลงมือกระทำ หรือวางแผนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
Preparation
เป็นระยะที่คนเริ่มวางแผน เริ่มคิดกลยุทธ์ที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันเป็นปัญหา
Action
เป็นระยะที่คนเริ่มลงมือปฏิบัติ เริ่มลองผิด ลองถูกที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันเป็นปัญหา
Maintenance
เป็นระยะที่คนปฏิบัติจนเป็นนิสัย และมีการทำพฤติกรรมใหม่ ไม่หันกลับไปทำแบบเดิม ๆ จนกระทั่งพฤติกรรมที่เกิดขึ้น กลายเป็นนิสัยถาวร
เครื่องมือสำหรับการประเมินและคัดกรองปัญหาวัยรุ่นและเยาวชน
แบบประเมินด้านจิตสังคมของวัยรุ่น : HEEADSS (S)
แบบทดสอบการติดเกม : GAST
แบบทดสอบการติดเกมฉบับผู้ปกครอง
แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน : SDQ (อายุ 11-16 ปี)
แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์สำหรับวัยรุ่น (อายุ 12-17 ปี)
แบบทดสอบเพื่อวัดระดับการติดบุหรี่
นางสาวศรีสุดา คำพิมพ์ 39A