Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบโครงสร้าง Skeleton System, 411, image, image, image, image - Coggle…
ระบบโครงสร้าง Skeleton System
1.กระดูกแกน(Axial Skeleton)
1.1 กระดูกกระโหลก (Skull)
กระดูกกะโหลกศีรษะมีลักษณะเป็นแผ่นเชื่อมติดกัน ภายในเป็นโพรงที่บรรจุสมอง กะโหลกศีรษะทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้กับสมอง
กระดูกกระโหลก (Skill)
กระดูกขมับ (temporal bone) 2 ชิ้น
กระดูกท้ายทอย (Occipital bone) 2 ชิ้น
กระดูกหน้าด้านข้างศรีษะ (Parietal bone) 2 ชิ้น
กระดูกขื่อจมูก (Ethmoid bone) 1 ชิ้น
กระดูกหน้าผาก (Frontal bone) 1 ชิ้น
กระดูกรูปผีเสื้อ (Sphenoid bone) 1 ชิ้น
1.2 กระดูกใบหน้า (Bone of face)
กระดูกถุงน้ำตา (Lacrimal bone) 2 ชิ้น
กระดูกโหนกแก้ม (Zygomatic bone) 2 ชิ้น
กระดูกข้างในจมูก (Inferior concha) 2 ชิ้น
กระดูกเพดาน (Palatine bone) 2 ชิ้น
กระดูกกั้นช่องจมูก (Vomer) 1 ชิ้น
กระดูกขากรรไกร (Maxillary) 2 ชิ้น
กระดูกสันจมูก (Nasal bone) 2 ชิ้น
กระดูกขากรรไกรล่าง (Mandible) 1 ชิ้น
1.3 กระดูกหู (Bone of ear)
กระดูกรูปทั่ง (Incus) 2 ชิ้น
กระดูกรูปโกลน (Stapes) 2 ชิ้น
กระดูกรูปค้อน (Malleus) 2 ชิ้น
1.4 กระดูกสันหลัง (Vertebra)
ทำหน้าที่เป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อของหลัง
กระดูกสันหลังเป็นแนวกระดูกที่อยู่ทางด้านหลังของร่า
กาย ประกอบด้วยกระดูกชิ้นเล็กๆเป็นข้อๆติดกันด้วยกล้ามเนื้อและเอ็น ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อจะมีแผ่นกระดูกอ่อนหรือที่เรียกว่า "หมอนรองกระดูก (Intervertebral disc)" เป็นที่รองและเชื่อมกระดูกสันหลังแต่ละข้อเพื่อป้องกันการเสียดสี
กระดูกสันหลังส่วนนอก (Thoracic vertebra) 12 ชิ้น
กระดูกสันหลังส่วนเอว (Lumbar vertebrae) 5 ชิ้น
กระดุกสันหลังส่วนคอ (Cervical vertebrae) 7 ชิ้น
กระดูกกระเบนเหน็บ (Sacrum) 1 ชิ้น
กระดูกสันหลัง (Vertebra) 26 ชิ้น
กระดูกก้นกบ (Coccyx) 1 ชิ้น
1.5 กระดูกซี่โครง (Rib) มีทั้งหมด 12 คู่ เชื่อมกับกระดูกอ่อน
1.6 กระดูกทรวงอก (Sternum) 1 ชิ้น
2.กระดูกรยางค์ (Appendicular Skeleton)
เอ็น (tendon) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันประกอบด้วยคอลลาเจนอัดแน่นที่มีปลายใดปลายหนึ่งหรือทั้งสองปลายยึดติดกับกล้ามเนื้อ
Facia พังผืด มีทั้งตื้น (superficial fascia) และชนิดลึก (deep fascia)
Lower Limb
2.10 กระดูกน่อง (Fibula) 2 ชิ้น
2.11กระดูกข้อเท้า (Tarsal bone) 14 ชิ้น
2.9 กระดูกหน้าแข้ง (Tibia) 2 ชิ้น
2.12 กระดูกฝ่าเท้า (Metatarsal bone) 10 ชิ้น
2.8 กระดูกต้นขา (Femur) 2 ชิ้น
2.13 กระดูกนิ้วเท้า (Phalanges) 28 ชิ้น
2.7 กระดูกเชิงกราน (Hip bone) 2 ชิ้น
Upper Limb
2.3 กระดูกปลายแขน (Bone of forearm)
กระดูกปลายแขนท่อนใน (Ulna) 2 ชิ้น
กระดูกปลายแขนท่อนนอก (Radius) 2 ชิ้น
2.4 กระดูกข้อมือ (Carpal bone) 16 ชิ้น
2.2 กระดูกต้นแขน (Humerus) 2 ชิ้น
2.5 กระดูกฝ่ามือ (Metacarpal bone) 10 ชิ้น
2.1 กระดูกไหล่ (Shoulder girdle)
กระดูกสะบัก (Scapular) 2 ชิ้น
กระดูกไหปลาร้า (Clavicle) 2 ชิ้น
2.6 กระดูกนิ้วมือ (Phalanges) 28 ชิ้น
ข้อต่อ (Joints) คือบริเวณที่กระดูกตั้งแต่สองชิ้นขึ้นไปมีการติดต่อกัน ทำให้กระดูกมีการทำงานร่วมกันเป็นระบบเพื่อการค้ำจุนปกป้องร่างกายและการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆที่เหมาะสม
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่น กระดูกสันหลัง เชิงกราน
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มากจะมีน้ำเลี้ยงข้อต่อ
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก
ข้อต่อแบบบานพับ (hinge joint)
ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้า (ball and socket joint)
ข้อต่อแบบเดือย (pivot joint)
ข้อต่อแบบสไลด์ (gliding, plane joint)
ข้อต่อแบบอานม้า (saddle joint)
ข้อต่อแบบปุ่ม (condyloid joint)
1.ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้ เช่น ข้อต่อกระโหลกศรีษะ
Ligament ลักษณะแบบเดียวกับเส้นเอ็นแต่ไม่มีปลายติดกับกล้ามเนื้อจะยึดติดกับกระดูกหรือกระดูกอ่อน
การบำรุงกระดูก
1.รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง “แคลเซียม” มีบทบาทชัดเจนและโดดเด่นมาก ในฐานะผู้ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้เจริญเติบโตสำหรับเด็กๆ ทั้งความยาวและความหนาแน่นของมวลกระดูก ส่วนผู้ใหญ่ก็ต้องการแคลเซียมเพื่อบำรุงกระดูกให้สุขภาพแข็งแรง ไม่เปราะไม่ผุง่าย
2.เสริมวิตามินดี วิตามินดีคือช่วยในการดูดซึมแคลเซียมเข้าสู่ร่างกาย ต่อให้รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเข้าไปมากแค่ไหน แต่ถ้าไม่มีวิตามินดี ร่างกายก็ไม่สามารถนำแคลเซียมส่งต่อไปใช้กับกระดูกและฟันได้
3.ออกกำลังกายเสริมสร้างมวลกระดูก สำหรับผู้สูงอายุแนะนำให้เดินเหยาะๆ หรือเต้นแอโรบิกเบาๆ เพื่อช่วยพยุงข้อต่อ พัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และป้องกันการล้มที่อาจเกิดขึ้นได้
หน้าที่ของโครงกระดูก
ค้ำจุนละรักษารูปร่างให้ทรงตัวอยู่ได้
ป้องกันอวัยวะภายในร่างกาย เช่น กระดูกซี่โครงป้องกันหัวใจ ปอด และตับกะโหลกศีรษะป้องกันเนื้อเยื่อสมอง
เป็นที่ยึดเกาะของเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อเยื่อช่วยในการเคลื่อนที่
เป็นแหล่งสะสมสำคัญของธาตุแคลเซียมละฟอสฟอรัส
สร้างเม็ดเลือด ไขกระดูกที่อยู่ภายในกระดูกจะทำหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
ชนิดของกระดูก
กระดูกแท่งยาว (long bone) เช่น กระดูกต้นแขน กระดูกปลายแขน กระดูกต้นขา กระดูกหน้าแข้ง กระดูกน่อง กระดูกไหปลาร้า
กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone) ได้แก่ กระดูกสันหลัง กระดูกแก้ม กระดูกขากรรไกร
แบ่งตามโครงสร้าง
กระดูกพรุน
กระดูกแข็ง
กระดูกแบน (flat bone) ได้แก่ กระดูกกะโหลก กระดูกเชิงกราน กระดูกสะบัก กระดูกอก กระดูกซี่โครง
กระดูกแท่งสั้น (short bone) เช่น กระดูกข้อมือ ข้อเท้า
กระดูกอ่อน (Cartilage) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่งพบได้ทั่วร่างกายมนุษย์และสัตว์อื่น ๆ โดยเฉพาะบริเวณข้อต่อต่าง ๆประกอบไปด้วย เยื่อใยคอลลาเจน หรือ เยื่อใยอีลาสติน และเซลล์ที่เรียกว่า คอนโดรไซต์ซึ่งจะหลั่งสารออกมาห่อหุ้มเซลล์ที่มีคอลลาเจนเป็นองค์ประกอบ โดยองค์ประกอบที่อยู่ภายในจะมีลักษณะ คล้ายเจล เรียกว่า แมททริกซ์ กระดูกอ่อนจะไม่มีหลอดเลือดมาเลี้ยง คอนโดรไซต์จะแลกเปลี่ยนสารอาหารโดยแพร่ผ่านคอลลาเจนมาสู่เส้นเลือดด้านนอก เมตาบอลิซึมของเซลล์เหล่านี้ต่ำ ถ้าถูกทำลายจะซ่อมแซมตัวเองได้แต่ช้า