Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น รักษาโรคเบื้องต้นทางศัลยกรรม, นางสาวพัทธิ์ชญา หวังสาสุข…
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น รักษาโรคเบื้องต้นทางศัลยกรรม
Wound Types
ลักษณะการแยกหรือฉีกขาดออกของผิวหนังที่ปกคลุมร่างกาย
Open wound บาดแผลที่มีการฉีกขาดหรือแยกออกของผิวหนังร่วมด้วย
Closed wound บาดแผลที่ไม่มีการฉีกขาดของผิวหนัง
ลักษณะที่แสดงออกของบาดแผล
Laceration wound แผลฉีกขาด ตื้น ลึก
Avulsion wound แผลที่มีส่วนของผิวหนังแยกจากชั้น subcutaneous tissue
Puncture wound แผลถูกทิ่มแทง
Crush injury wound แผลที่ได้รับแรงกดจากภายนอกสูง
Contusion wound บาดแผลที่มีการฟกช้ำของเนื้อเยื่ออ่อน
Wound management
Wound cleansing ทำความสะอาดบริเวณบาดเเผลก่อนการทำหัตถการ
Wound exploration การสำรวจภายในบาดแผล
Hemostasis การห้ามเลือด
Debridement การตัดเนื้อตายและสิ่งแปลกปลอมออกจากบาดแผล
Wound closure เย็บปิดบาดแผล
Suture wound
ชนิดของการเย็บแผล
Subcuticular suture เย็บบาดแผลบริเวณที่ตื้นไม่ลึกมาก เย็บดึงขอบผิวหนังชิดเข้าหากัน
Half buried Horizontal mattress suture เย็บบาดแผลที่เป็นรูปสามเหลี่ยมปลายเเหลม
Vertical mattress suture แผลลึก มีแรงดึงของขอบแผลค่อนข้างมาก
Skin staples เย็บบาดแผลโดยลวดเย็บ
Continuous overhand suture แผลขนาดตื้นแต่ยาว
Skin adhesive strips เย็บบาดแผลบริเวณบาดแผลที่ตื้น
Single interrupted suture เย็บบาดแผลทั่วไป
ยาชาที่นิยมใช้
Lidocaine (Xylocaine) นิยมใช้มากที่สุด
สำหรับ lidocaine ที่ผสม adrenaline 1:1000,000 หรือ 1:200,000 ทำให้ฤทธิ์ยานานขึ้น
การตัดไหม
แผลที่หนังศีรษะ ตัดไหมประมาณวันที่ 7-10
บริเวณข้อ,มีการเคลื่อนไหว ตัดไหมประมาณวันที่ 10-14
แผลที่บริเวณใบหน้า ตัดไหมประมาณวันที่ 5
การใช้ยาชาเฉพาะที่
ทำให้การทำความสะอาดหรือเย็บแผลเป็นไปได้อย่างราบรื่นโดยที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บ
วิธีการฉีด : โดยการปักเข็มเข้าไปตรงมุมด้านใดด้านหนึ่งของบาดแผล บริเวณผิวหนัง ภายหลังได้ทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อแล้วและดันเข็มไปจนสุดขอบบาดแผล แล้วทดลองดูดดูว่าไม่มีเลือด จึงค่อยๆเดินยาเข้าไปพร้อมกับถอนเข็มออกมาช้าๆ
Incision and Drainage
ฝี (Abscess or furuncle)
อาการ
ปวด คัน ผิวหนังบวม นูนแดง และอาจพบจุดหนองสีขาวบริเวณกลางของฝี
การรักษา
การใช้ Hot packs และทำ incision and drainage โดยใช้มีดปลายแหลมเบอร์ 11
การใช้ยาปฏิชีวนะ ไม่จำเป็นต้องให้ ยกเว้นพบ ฝีบริเวณหน้า จมูก หรือใน immunocompromised host
ฝีฝักบัว (Carbuncle)
พบบ่อยในผู้ป่วยเบาหวาน หรือ immunocompromised host ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ดีอาจทำให้มีไข้ติดเชื้อในกระแสเลือดรุนแรง (sepsis) และเกิดอันตรายถึงชีวิตได้
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่ฆ่าเชื้อ staphylococcal ได้เช่น cloxacillin, erythromycin หรือ lyncomycin เป็นต้น
ให้กินยาแก้ปวดหากมีอาการปวด
ประคบความร้อน
ต้องตรวจปัสสาวะทุกรายว่าเป็นเบาหวานหรือไม่
ถ้ามีหนองผ่าตัดเอาหนองออก
เล็บขบ (Ingrown toenail or onychocryptosis)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ Staphylococcus หรือ Streptococcus ทำให้เกิดการอักเสบบวมแดงรอบ ๆ ขอบเล็บและปวดเล็บบางรายมีหนองร่วมด้วยมักจะเป็นบริเวณนิ้วเท้าโดยเฉพาะผู้หญิงที่แต่งเล็บหรือเชื้ออาจเข้าบริเวณผิวหนังที่มีแผลเนื่องจากการแช่น้ำนาน
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะเช่น cloxacillin 250-500 mg วันละ 4 ครั้งถ้าแพ้ยากลุ่ม penicilin ให้ใช้ erythromycin
ถ้ามีหนองให้ผ่าเอาหนองออกจะหายเร็วยิ่งขึ้นอาจถอดเล็บหรือตัดบางส่วนของเล็บออก
นางสาวพัทธิ์ชญา หวังสาสุข เลขที่21 ห้อง2 รหัส6117701001041