Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา - Coggle Diagram
สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา
แนวทางการออกแบบ infographic
หลักในการออกแบบ
กฎการโฟกัส
ใช้รูปในการสื่อความหมาย และควรวงกลมรูปให้ชัดเจน
กฎตัว Z
ควรเรียงลำดับจากบนลงล่างหรือซ้ายไปขวา
กฎ 3 สี
ควรใช้สีไม่เกิน 3 สีเพื่อให้อ่านง่าย
กฎการหายใจ
ควรเว้นช่องว่างในแต่ละวัตถุประสงค์เพื่อให้ตัวหนังสือไม่แน่นเกินไป
รูปแแบบการจัดวาง Layout
timeline
flowchart
structure
roadmap
comparison
useful brain
listed
number porn
visualized article
ขั้นตอนการทำ
ค้นหาวิธีการนำเสนอที่น่าสนใจ
ร่างโครงการ
จัดหมวดหมู่ข้อมูล
ออกแบบชิ้นงาน
เลือกเนื้อหาที่น่าสนใจ
เผยแพร่สู่สาธารณะ
ค้นหาข้อมูลที่ต้องการ
การออกแบบให้มีประสิทธิภาพ
illustration
โทนสีควรใกล้เคียงกันและสอดคล้องกับเนื้อหา
layout
จัดวางวัตถุอย่างเป็นระเบียบและเรียงลำดับความสำคัญ
negative space
ควรเว้นที่ว่างระหว่างวัตถุ
comparison
ควรแสดงความแตกต่างอย่างชัดเจน
callout
ใช้คำให้กระชับและใช้คำคีย์เวิร์ด
accuracy
ควรให้ข้อมูลถูกต้องเป็นจริง ไม่ทำให้เกิดความมึนงง
Iconography
ใช้สัญลักษณ์แทน ควรเรียบง่ายแต่ดูรู้เรื่อง
simplicity
ชิ้นงานควรเรียบง่ายและหลีกเลี่ยงการตกแต่งมากเกินไป
color
ไม่ควรใช้สีเกิน 5 สี และควรไล่เฉดสีเพื่อให้อ่านง่าย
typography
ตัวอักษรอ่านง่าย ชัดเจนง่าย
Interactive infographic
รายละเอียดของ interactive infographic
ส่วนมือ
วิธีที่ง่ายและดีที่สุดคือให้ผู้ใช้ได้ลงมือปฏิบัติจะทำให้จำได้ดี
ส่วนหัวใจ
ใช้ข้อมูลบอกเล่าเรื่องและจินตนาการเป็นเรื่องราวที่น่าสนใจ
ส่วนตา
ถูกออกแบบมาให้เห็นภาพชัดเจน ทำให้ผู้ใช้เข้าใจเนื้อหาและสามารถจินตนาการได้
ส่วนเนื้อเยื่อประสาท
การทำงานที่ทำให้ผู้ใช้เกิดการตอบสนอง
ส่วนสมอง
สมองจะจำข้อมูลที่เป็นภาพได้ดีกว่าข้อมูลที่เป็นข้อความ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทบาทของ interactive infographic ที่มีผลต่อการลดการรับรู้ที่คลาดเคลื่อนของผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหมาย
การนำเสนอผ่านการมองเป็นหลักและผู้ใช้สามารถตอบโต้ได้
การโต้ตอบมี 3 ระดับ
ระดับกลาง คือ การเชื่องโยงข้อมูลต่างๆเข้าด้วยกันด้วย Hyperlink
ระดับสูง คือ ผู้ใช้สามารถเลือกชมแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหาได้
ระดับต่ำ คือ การคลิกเพื่อตอบสนอง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความหมาย :
สื่อสิ่งพิมพ์เป็นสิ่งที่พิมพ์ขึ้นจะเป็นกระดาษหรือไม่ก็ได้เพื่อเป็นสื่อกลางให้บุคคลอื่นเห็นข้อความที่ต้องการสื่อ
ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์
นิตยาสารหรือวารสาร
นิตยสาร
สิ่งพิมพ์ที่พิมพ์ขึ้นเป็นประจำสม่ำเสมอ มีเนื้อหาหลากหลาย มุ่งเน้นความบันเทิงเป็นหลัก
วารสาร
เป็นสิ่งพิมพ์ที่ตีพิมพ์ขึ้นเป็นระยะเวลาสม่ำเสมอ เนื้อหาเน้นไปทางวิชาการ ต้องได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญก่อนนำเสนอสู่สาธารณะ
หนังสือเล่ม
เป็นสิ่งพิมพ์ที่ต้องมีการเย็บเข้าเล่มหลากหลายขนาด ตีพิมพ์ไม่ต่อเนื่อง เนื้อหามักจะจบลงในเล่มหรือรวมกันเป็นชุด
หนังสือพิมพ์
เป็นรายงานข่าวที่น่าสนใจในแต่ละวันหรือรายงานเหตุการณ์ประจำวันเนื้อหาข่าวในหนังสือพิมพ์มีหลากหลาย เช่น กีฬา การเมือง เศรษฐกิจ บันเทิง ท้องถิ่น
สิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ
เป็นสิ่งพิมพ์ที่เน้นเพื่อสื่อสารเพื่อกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง
แคตตาล็อค
แผ่นพับหรือโบชัวร์
จุดสารหรือจดหมายข่าว
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ infographic
การจัดระเบียบข้อมูล
2.คัดสิ่งที่ไม่ต้องการออก
3.สรุปข้อมูลให้ได้ใจความสำคัญ
1.รวบรวมข้อมูล
การเรียบเรียงข้อมูลให้เป็นระเบียบ
2.การเรียงข้อมูลตามลำดับตัวอักษร
3.การนำข้อมูลมาทำเป็นโครงสร้าง
การแบ่งหมวดหมู่ข้อมูล
ทักษะที่จำเป็นในการทำ infographic
ทักษะการเรียบเรียง
ทักษะการดีไซน์
ทักษะการวิเคราะห์
ชนิดของ infographic
pictogram
กราฟฟิกที่ใช้แทนคำพูดหรือย่อคำพูด ช่วยในการประหยัดพื้นที่ไม่ต้องเขียนเยอะ
แผนภาพ
กราฟฟิกที่นำเสนอแผนผังคำสั้นๆ ช่วยในการอธิบายให้เป็นลำดับขั้นตอนมากยิ่งขึ้น
เนื้อหาที่เหมาะกับการทำ infographic
หัวข้อเกี่ยวกับแนะนำวิํธีการ
การรายงานผล
หัวข้อที่กำลังเป็นที่สนใจในขณะนั้น
การเปรียบเทียบ
ตาราง
การนำเสนอเหตุการณ์
คำอธิบายเชิงวิชาการ
สรุปผล
รูปแบบดีไซน์พื้นฐานของ infographic
แบบความสัมพันธ์
รวบรวมข้อมูล
เชื่อมโยง
ลำดับชั้น
แบบแผนที่
แบบโวลุ่ม
กราฟ
แผนภาพต้นไม้
แบบไทม์ไลน์
ชาร์ต
ภาพวงจร
ไทม์ไลน์
แบบตาราง
ตาราง
เมตริกซ์
จุดร่วมในงาน infographic
แหล่งที่มา
ควรระบุไว้ด้านล่างสุด
ผู้จัดทำ
ควรใส่ให้ชัดเจน สามารถติดต่อได้
ชื่อเรื่อง
เนื้อหาโดยรวม โดดเด่น
อื่นๆ
เน้นหาที่ต้องการให้ทราบเพิ่มเติม
ขั้นตอนการทำ
ศึกษาข้อมูล
กำหนดคอนเซ็ปต์
กำหนดหัวข้อเรื่อง
ออกแบบ
ทำความเข้าใจจุดประสงค์
ตรวจสอบความเรียบร้อย