Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคที่มีความเสื่อมของระบบประสาท, นางสาววิภาดา ชื่นใจ เลขที่ 37 รหัส…
โรคที่มีความเสื่อมของระบบประสาท
โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งหรือโรค MS (MS : Multiple sclerosis)
การรักษา
ให้การดูแลเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะ
ให้ฟีนอล (Phenol)
ให้ยานอนหลับ
ให้อาหารที่มีโปรตีน วิตามินบี 12 และวิตามิน C สูง
ให้ ACTH ฮอร์โมน และคอร์ติโคสเตอรอย์ฮอร์โมน
การวินิจฉัยการพยาบาล
บกพร่องในการติดต่อสื่อสาร เนื่องจากการควบคุมการทำงานของประสาทและกล้ามเนื้อเกี่ยวกับการพูดสูญเสียหน้าที่
การเคลื่อนไหวบกพร่อง เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง แข็งเกร็ง
ท้องผูกหรือขับถ่ายปัสสาวะพร่อง เนื่องจากกล้ามเนื้อหูรูดและกระเพาะปัสสาวะสูญเสียหน้าที่จากเยื่อไมอีลินในไขสันหลังเสื่อมหรือจากการไม่เครลื่อนไหว
ขาดความรู้ความเข้าใจการดำเนินโรค และแผนการรักษาของแพทย์
มีความวิตกกังวลสูง เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพหรือบทบาทหน้าที่
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากขาดอาหาร ขาดความรู้และได้รับยากดภูมิต้านทาน
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากความบกพร่องทางระบบการรับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว หรือไม่ทราบสภาพแวดล้อม
ได้รับอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เนื่องจากความบกพร่องทางการเคี้ยวและกลืน
กระบวนการคิดบกพร่อง เนื่องจากความเสื่อมทางสมองความวิตกกังวลและการถูกแยกจากครอบครัว
สาเหตุ
กรรมพันธุ์ในครอบครัว
เกิดจากการเสื่อมของระบบประสาทส่วนกลาง เนื้อเยื่อหุ้มมัยอีลิน (Myeline sheath) ของระบบประสาทที่รับความรู้สึกและควบคุมการเคลื่อนไหวถูกทำลาย ทำให้การนำกระแสประสาทเสียไป
การติดเชื้อไวรัส
เป็นโรคในกลุ่มออโตอิมูน
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายถึงลักษณะการดำเนินโรคและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
การให้ยา อาการข้างเคียง ขนาด เวลาที่ให้ตลอดจนการสังเกตและบันทึกอาการข้างเคียง
การรับประทานอาหารที่มีคุณค่า มีวิตามินสูง
การมีกิจกรรมสันทนาการเพื่อผ่อนคลายและสนุกสนาน
รักษาความสะอาดของร่างกายป้องกันการเกิดบาดแผลกดทับ
การติดต่อกับโรงพยาบาลชุมชนที่จะให้การดูแลต่อเนื่อง
หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้ติดเชื้อหรืออุณหภูมิสูงขึ้น
โรคกิแลง เบอร์เร่ (Guillain-Berre Syndrome)
การรักษา
ให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดและยาป้องกันการเกิดลิ่มเลือด
ให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอหรือภาวะโภชนาการที่ดี
ในรายที่อยู่ระยะเฉียบพลัน ต้องประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
ใส่สายสวนปัสสาวะในรายที่มีปัญหาการขับถ่าย
รักษาประสิทธิภาพของการหายใจ
การเปลี่ยนพลาสมา (Plasma)
กิจกรรมการพยาบาล
สอนและกระตุ้นการไอที่มีประสิทธิภาพ (Effective cough)
จัดท่านอนตะแคงและอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
เคาะปอด
ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
เตรียมท่อหลอดลมคอและเครื่องช่วยหายใจ
การวินิจฉัย
วิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการจาการตรวจน้ำไขสันหลัง พบโปรตีนในน้ำไขสันหลังมีระดับสูง
ตรวจการนำกระแสประสาท และการตรวจหาความผิดปกติของกล้ามเนื้อโดยตรวจ Electromyography (EMG)
สาเหตุ
เกิดจากปฏิกิริยาแพ้ (Allergy) หรือตอบสนองแบบภูมิต้านทานตนเอง ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการติดเชื้อ
โรคมัยแอสทีเนีย กรานิส (Myasheniagravis : MG)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันบกพร่อง เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
การขับถ่ายอุจาระ ปัสสาวะผิดปกติ เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจากการเคี้ยวและการกลืนบกพร่อง เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเจ็บป่วยได้ เนื่องจากมีอาการทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง
การติดต่อสื่อสารบกพร่อง เนื่องจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัว
เสี่ยงต่อการระบายอากาศไม่พอ เนื่องจากหยุดหายใจจากกล้ามเนื้อหารหายใจอ่อนแอ
การรักษา
การรักษาด้วยยา Neostigminne, Prosticmine, Pyridostigmine
การผ่าตัดต่อมไทมัสในรายที่เป็นเนื้องอก
การเปลี่ยนพลาสมา (Plasma pheresis)
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลทางเดินหายใจ
การรับประทานยาตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด
การมีกิจกรรมต่างๆ
ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
การรับปรัทานอาหารที่มีคุณค่า วิตามินสูง
สาเหตุ
เชื่อว่า น่าจะเกี่ยวกับระบบออโตอิมมูน (autoimmune)
นางสาววิภาดา ชื่นใจ เลขที่ 37 รหัส 621001402174