Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 5
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาจิตสังคม image - Coggle…
กรณีศึกษาที่ 5
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาจิตสังคม
ด้านสรีรวิทยา
เต้านม (breast)
-
ทฤษฎี
-
-
Transitional milk (น้้านมระยะเปลี่ยนผ่าน) : วันที่ 7 –2 สัปดาห์ เป็นระยะที่ไหลจากหัวน้้านม และระยะนมแม่ ประกอบด้วยน้้า และสารอาหาร จำพวก lactose protein
-
Pure milk (ระยะนมแม่) : เริ่มสร้าง 2สัปดาห์ หลังคลอดขึ้นไป ประกอบด้วยไขมัน พลังงานแคลอรี เป็นสิ่งที่ช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโต และสุขภาพที่แข็งแรงของทารก
-
มดลูก (Uterus)
ทฤษฎี
มดลูกจะหดรัดตัวอย่างต่อเนื่อง ทำให้มีความรู้สึกปวดตึงของมดลูก อาการเจ็บคล้ายกับการเจ็บครรภ์จากมดลูกหดรัดตัวในระยะก่อนคลอด เรียกว่า afterpains
อาการจะพบชัดเจนมากขึ้นตามจำนวนครั้งการคลอดที่เพิ่มขึ้น และรุนแรงมากขึ้นหากทารกดูดนมมารดา เนื่องจากมีการหลั่งของ oxytocin
-
-
-
น้้าคาวปลา (lochia)
-
-
ช่องคลอด (vagina)
-
-
ปากมดลูก (cervix)
-
-
ผนังหน้าท้อง (abdominal wall)
-
-
ฝีเย็บ (perineum)
ทฤษฎี
การเคลื่อนต่ำส่วนน้าทารก เกิดการกดของกล้ามเนื้อในอุ้งเชิงกรานและกล้ามเนื้อแผลฝีเย็บ เส้นเลือดฝอยบริเวณฝีเย็บ ฉีกขาด
-
ประจำเดือน
ทฤษฎี
ไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : อาจเริ่มมีประจำเดือนภายใน 6 – 8 สัปดาห์หลังคลอด และอาจตกไข่ได้เร็วที่สุดคือ 33 วันหลังคลอด
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่สม่ำเสมอ : การมีประจำเดือน ส่วนใหญ่จะมาช้า หรืออาจไม่มีเลยในช่วงที่ให้นมบุตร การตกไข่จะช้า และตกไข่ไม่บ่อยเท่าสตรีหลังคลอดที่ไม่ได้ให้ลูกดูดนม
-
ทางเดินอาหาร
-
-
ระบบทางเดินปัสสาวะ
-
-
-
ด้านจิตสังคม
Postpartum psychosis
เป็นภาวะที่เกิดจากการมีภาวะซึมเศร้ารุนแรงและไม่ได้รับการแก้ไข อาการไม่ทุเลาลงจนทำให้เกิดโรคจิตหลังคลอด อัตราการเกิดโรคค่อนข้างน้อยหรือกินระยะเวลายาวนานถึง 6 เดือนหลังคลอด มารดาจะมีอาการหลงผิดประสาทหลอน สับสน อยู่ไม่นิ่ง หวาดระแวง
จากการณีศึกษาไม่พบข้อมูลที่เป็นปัญหา เนื่องจากมารดาหลังคลอดสามารถปรับตัวได้ดีและมีสีหน้าที่สดชื่น อีกทั้งครอบครัวมีความพร้อมในการเลี่ยงดูทารกและครอบครัวให้การดช่วยเหลือและดูแลเป็นอย่างดี และสามีให้การดูแลเป็นอย่างดีและคอยรับฟังและให้คำปรึกษาอยู่เสมอ
Postpartum blue
เป็นภาวะปกติที่มารดาสามารถเกิดขึ้นได้ในช่วง 3 -10 วัน หลังลอด เกิดจากการมีระดับฮอร์โมน estrogen และ Progesterone ลดลงอย่างรวดเร็วหลังคลอด มีความวิตกกังวล เครียด เกี่ยวกับภาวะที่ต้องแบกรับหลังคลอด มารดามีอาการหงุดหงิด อารมณ์แปรปรวน ร้องไห้โดยไม่ทราบสาเหตุ
-
Postpartum depression
เป็นโรคซึมเศร้าที่เกิดจากการที่มารดามีภาวะเศร้า อยู่นานเกินกว่า 2 สัปดาห์ และไม่ได้รับการแก้ไข มารดามักมีอาการสิ้นหวัง ท้อแท้ หดหู่ มีความสนใจสิ่งต่างๆ ที่เคยทำลดลง รู้สึกตนเองไร้ค่า ไม่อยากมีชีวิตอยู่ มีความคิดอยากค่าตัวตาย
-
-