Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการด้านต่างๆในแต่ละวัย - Coggle Diagram
พัฒนาการด้านต่างๆในแต่ละวัย
วัยทารก
ร่างกาย
ศรีษะที่โตค่อยๆ ดูเล็กลง ล้าตัวและขาดูยาวใหญ่ขึ้น โครงกระดูกเจริญเติบโตรวดเร็ว แขนและขาจึงแข็งแรงขึ้น
สติปัญญา
ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ส้าคัญ 3 ประการ1.พื้นฐานทางสติปัญญาที่ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ2.โอกาสที่เด็กจะได้เรียนรู้ 3.สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเด็ก
อารมณ์ จิตใจ
อารมณ์โกรธ มีมากกว่าอารมณ์อื่นๆ อารมณ์กลัว เกิดมากเป็นอันดับสองรองจากอารมณ์โกรธ อารมณ์อยากรู้อยากเห็น เป็นอีกอารมณ์หนึ่งที่มีค่อยข้างมากเกิดจากความต้องการรู้จักสิ่งแวดล้อม
สังคม
ขึ้นอยู่กับอิทธิพลต่างๆ หลายประการ ที่
บุคคลเรียนรู้และได้รับในวัยทารก เช่น ความรู้สึกที่เกิดขึ้นขณะที่เด็กได้รับอาหาร ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่างๆ
วัยสูงอายุ
ร่างกาย
ภายนอกผิวหนังจะเหี่ยวย่น ผิวหนังแตกแห้ง เส้นเลือดฝอยแตกง่าย ผมและขนเริ่ม
เปลี่ยนเป็นสีขาวและหลุดร่วงง่าย
สติปัญญา
ในวัยนี้เซลล์สมองจะเสื่อมลง ถ้าสมองขาดการบ้ารุงและส่งเสริมการใช้งานที่
เหมาะสมแล้ว บางรายอาจประสบปัญหาโรคสมองฝ่อ
อารมณ์ จิตใจ
อารมณ์ที่พบบ่อย เช่น เศร้า เบื่อหน่าย ท้อแท้ เหงา น้อยใจง่าย สิ้นหวัง หงุดหงิดง่าย
เครียด ขี้บ่น
สังคม
ถูกจ้ากัดลงเนื่องจากสุขภาพไม่เอื้ออ้านวย ต้องเป็นภาระ
ให้กับคนใกล้ชิด ท้าให้ผู้สูงอายุถูกทิ้งในบ้านตามล้าพัง
วัยรุ่น
ร่างกาย
ด้านร่างกายที่รวดเร็วและชัดเจนในด้านน้้าหนักและส่วนสูงที่เพิ่มขึ้น เริ่มแสดงสัดส่วนของความเป็นผู้ใหญ่ มีการเปลี่ยนแปลงและ
แสดงถึงสัญลักษณ์ทางเพศ
สติปัญญา
มีความก้าวหน้าใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ แตกต่างกันที่ความสุขุมรอบคอบและประสบการณ์ที่น้อยกว่าเท่านั้น
อารมณ์ จิตใจ
มีความรู้สึกที่ค่อนข้าง รุนแรง แปรปรวนง่าย มีปัญหาขัดแย้งในจิตใจตัวเองเสมอ ๆ
สังคม
เริ่มห่างจากพ่อแม่และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเพื่อนรุ่นเดียวกัน
วัยเรียน
ร่างกาย
ไป ช้าๆ แต่สม่้าเสมอ พัฒนาการทางการไม่มีลักษณะเด่นพิเศษ เด็กหญิงโตเร็วกว่าเด็กชาย
สติปัญญา
อาจพอเข้าใจได้ 2 ลักษณะคือ ปริมาณและน้้าหนัก ส่วนความเข้าใจ
การทรงสภาพเดิมของปริมาตร ค่อนข้างยากและเป็นลักษณะนามธรรมมากเกินไป
อารมณ์ จิตใจ
ความสามารถใน การใช้เหตุผลของเด็กพัฒนาขึ้น มีความรู้สึกสงสารและเห็นอกเห็นใจ
สังคม
เด็กเริ่มออกจากบ้าน ไปสู่หน่วยสังคมอื่น จุดศูนย์กลางสังคมของ
เด็กคือ โรงเรียน อ การเป็นสมาชิกของกลุ่มเพื่อนรุ่นราว
คราวเดียวกัน
วัยก่อนเรียน
ร่างกาย
น้้าหนักและส่วนสูงยังคง
เพิ่มขึ้นแต่ไม่เพิ่มมากนัก สัดส่วนของร่างกายจะค่อยๆ เปลี่ยนไป ล้าตัว
ยาวและกว้างขึ้นเป็นสองเท่าของทารกเกิดใหม่
สติปัญญา
ได้เป็น 2 ระยะ
ระยะ ที่ 1 อายุระหว่าง 2 – 4 ขวบ ยังยึดตัวเองเป็นหลัก ไม่รู้จักคิดแบบใจเขาใจเรา ระยะที่ 2 อายุระหว่าง 4 – 7 ขวบ เด็กรู้จักสังเกตเห็นความแตกต่าง ท้าให้ความคิด
พัฒน าถึงขั้ นรู้ คิด เป รีย บเ ทีย บ
อารมณ์ จิตใจ
จะมีอารมณ์หงุดหงิดง่ายกว่าเด็กในวัยทารก ดื้อรั้นเอาแต่ใจตัวเอง เจ้า
อารมณ์ ทั้งนี้เพราะอยู่ในวัยช่างปฏิเสธ
สังคม
เด็กเริ่มรู้จักเข้าหาผู้อื่น เริ่มแสวงหาเพื่อนร่วมวัยเดียวกัน
วัยผู้ใหญ่
ร่างกาย
เป็นวัยที่มีความเจริญเติบโตสมบูรณ์สูงสุด
สติปัญญา
พัฒนาการทางสติปัญญา ของมนุษย์จะเจริญสูงสุดเต็มที่เมื่ออายุ 25 ปี จากนั้นจะเริ่ม
ลดลง แต่ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่สะสมไว้ในช่วงอายุ 30-40 ปีที่ผ่านมาจะเข้ามาทดแทน
อารมณ์ จิตใจ
เป็นวัยที่มีความมั่นคงในอารมณ์ ไม่แปรปรวนง่าย ควบคุมอารมณ์ได้ด
สังคม
สังคมของวัยนี้จะเริ่มแคบลง ส่วนใหญ่ที่คบกันมักเป็นเพื่อนสนิทและคบกันมานาน