Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการทั้งสี่ด้านของแต่ละช่วงวัย - Coggle Diagram
พัฒนาการทั้งสี่ด้านของแต่ละช่วงวัย
ร่างกาย
วัยเด้กตอนต้น
พัฒนาการทางกายในวัยเด็กตอนต้นยังเป็นไปแบบเจริญเติบโตเพื่อให้ท้างานเต็มที่ แต่อัตราแปรเปลี่ยนค่อนข้างช้าเมื่อเทียบกับระยะวัยทารก น้้าหนักและส่วนสูงยังคงเพิ่มขึ้นแต่ไม่เพิ่มมากนัก
วัยทารก
มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างของร่างกายและการรู้จักใช้อวัยวะต่างๆ อย่างรวดเร็ว ศรีษะที่โตค่อยๆ ดูเล็กลง ล้าตัวและขาดูยาวใหญ่ขึ้น
วัยผู้ใหญ่
ป็นวัยที่มีความเจริญเติบโตสมบูรณ์สูงสุด ซึ่งอยู่ระหว่างอายุ 20-25ปี จากนั้นจะคงที่และเริ่มค่อย ๆ เสื่อมลงเมื่ออายุประมาณ 30ปี
วัยรุ่น
มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายที่รวดเร็วและชัดเจนในด้านน้้าหนักและส่วนสูงที่เพิ่มขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงและแสดงถึงสัญลักษณ์ทางเพศ (Sex Characteristics) อย่างชัดเจน
วัยชรา
ภายนอกผิวหนังจะเหี่ยวย่น ผิวหนังแตกแห้ง เส้นเลือดฝอยแตกง่าย ผมและขนเริ่มเปลี่ยนเป็นสีขาวและหลุดร่วงง่าย
วัยเด็กตอนปลาย
พัฒนาการของเด็กวัย 6ถึง 12ขวบ เป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ช้าๆ แต่สม่้าเสมอ แต่ในระหว่างนี้เป็นระยะที่เด็กหญิงโตเร็วกว่าเด็กชายวัยเดียวกัน
วัยกลางคน
เป็นวัยที่ร่างกายเริ่มแสดงความเสื่อมที่พอจะสังเกตเห็น เช่นผมหงอก สายตาเริ่มยาว ผิวหนังเริ่มไม่เต่งตึง
อารมณ์
วัยเด็กตอนปลาย
ในระยะนี้ เด็กรู้จักกลัวสิ่งที่สมเหตุสมผลมากกว่าวัยก่อน เพราะความสามารถในการใช้เหตุผลของเด็กพัฒนาขึ้น มีความรู้สึกสงสารและเห็นอกเห็นใจ เข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของบุคคลอื่น รวมทั้งสัตว์เลี้ยงด้วย
วัยรุ่น
ในวัยนี้มักจะมีการแสดงออกทางอารมณ์อย่างเปิดเผย มีความรู้สึกที่ค่อนข้างรุนแรง แปรปรวนง่าย มีปัญหาขัดแย้งในจิตใจตัวเองเสมอ ๆ จึงอาจท้า ให้เกิดความขัดแย้งกับผู้ใหญ่ได้ เรียกได้ว่าเป็น วัยพายุบุแคม
วัยผู้ใหญ่
เป็นวัยที่มีความมั่นคงในอารมณ์ ไม่แปรปรวนง่าย ควบคุมอารมณ์ได้ดี และสามารถแสดงพฤติกรรมตอบสนองอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์
วัยทารก
อารมณ์โกรธ มีมากกว่าอารมณ์อื่นๆ เด็กอาจแสดงอารมณ์โกรธออกมาหลายวิธีเช่น ร้องไห้ ทุบตี ไม่สบาย เป็นต้น
อารมณ์กลัว เกิดมากเป็นอันดับสองรองจากอารมณ์โกรธ กิดจากสาเหตุต่างๆ เช่น ความไม่เข้าใจสิ่งแวดล้อม การหลอก/ขู่
อารมณ์อยากรู้อยากเห็น เป็นอีกอารมณ์หนึ่งที่มีค่อยข้างมากเกิดจากความต้องการรู้จักสิ่งแวดล้อม
วัยกลางคน
ต่อมเพศท้าการผลิตฮอร์โมนลดลง ท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์อีกครั้ง จะท้าให้เป็นคนหงุดหงิดง่าย สมาธิสั้น ซึมเศร้า หดหู่ ควบคุมอารมณ์ได้น้อยลง
วัยชรา
อารมณ์ที่พบบ่อย เช่น เศร้า เบื่อหน่าย ท้อแท้ เหงา น้อยใจง่าย สิ้นหวัง หงุดหงิดง่าย เครียด ขี้บ่น
วัยเด็กตอนต้น
เด็กในวัยนี้ จะมีอารมณ์หงุดหงิดง่ายกว่าเด็กในวัยทารก ดื้อรั้นเอาแต่ใจตัวเอง เจ้าอารมณ์ ทั้งนี้เพราะอยู่ในวัยช่างปฏิเสธ
สติปัญญา
วัยรู่น
วัยนี้มีพัฒนาทางการสติปัญญาที่รวดเร็วและมีความก้าวหน้าใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ แตกต่างกันที่ความสุขุมรอบคอบและประสบการณ์ที่น้อยกว่าเท่านั้น
วัยผู้ใหญ่
พัฒนาการทางสติปัญญา ของมนุษย์จะเจริญสูงสุดเต็มที่เมื่ออายุ 25 ปี จากนั้นจะเริ่มลดลง แต่ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่สะสมไว้ในช่วงอายุ 30-40 ปีที่ผ่านมาจะเข้ามาทดแทน
วัยเด็กตอนปลาย
เข้าใจว่าวัตถุแม้เปลี่ยนแปลงรูปลักษณะภายนอก ก็ยังคงสภาพเดิม (Conservation)ในบ้างลักษณะเช่น ปริมาณ น้้าหนัก และปริมาตร
วัยกลางคน
เป็นวัยที่เกิดปัญหาทางด้านความจ้า รวมทั้งการเรียนรู้ต่าง ๆจะยากขึ้น การตัดสินใจไม่แน่นอนเริ่มขาดความมันใจในตัวเอง
วัยเด้กตอนต้น
สามรถพูดภาษาได้ พูดฟังรู้เรื่อง เริ่มเขียนอ่านได้คล่อง
วัยชรา
ในวัยนี้เซลล์สมองจะเสื่อมลง ถ้าสมองขาดการบ้ารุงและส่งเสริมการใช้งานที่เหมาะสมแล้ว บางรายอาจประสบปัญหาโรคสมองฝ่อ (Atrophy) ได้
วัยทารก
ขึ้นอยู่กับปัจจัยสำคัญ 3 ประการ
สิ่งแวดล้อม
โอกาสที่จะได้เรียนรู้
พื้นฐานสติปัญญาที่ได้รับมาจากบรรพบุรุษ
สังคม
วัยรุ่น
เป็นวัยที่ต้องเผชิญกับความคาดหวังจากผู้ใหญ่มากกว่าวัยที่ผ่านมา เด็กจะเริ่มรู้จักรับผิดชอบต่อตัวเอง ท้า ให้ต้องเกิดการปรับตัวอย่างมาก พยายามค้นหาตัวตนที่แท้จริงในตัวเอง เด็กในวัยนี้จะเริ่มห่างจากพ่อแม่และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเพื่อนรุ่นเดียวกัน
วัยกลางคน
สังคมของวัยนี้จะเริ่มแคบลง ส่วนใหญ่ที่คบกันมักเป็นเพื่อนสนิทและคบกันมานาน สมรรถภาพการท้างานจะลดน้อยลงไปด้วย
วัยทารก
พัฒนาการทางสังคม หมายถึง พฤติกรรมที่เด็กสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลต่างๆ แบบพฤติกรรมสังคมมีหลายอย่าง เช่น ก้าวร้าว นุ่มนวล เยือกเย็น รุ่มร้อน เก็บตัว ชอบสังคม ชอบโทษผู้อื่น ชอบเอาเปรียบ เป็นต้น
วัยผู้ใหญ่
เป็นระยะส าคัญ บุคคลเริ่มวางแผนชีวิตให้กับตนเอง เริ่มคิดถึงการเลือกอาชีพ การสร้างฐานะ การเลือกคู่ครอง และประสบความส้าเร็จตามที่ตนวางแผนไว้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับการค้นพบตัวเองในระยะวัยรุ่นด้วย
วัยเด็กตอนต้น
พัฒนาการทางสังคมได้เริ่มแล้วตั้งแต่วัยทารก แต่ในระยะวัยเด็กตอนต้นมีลักษณะผิดแผกจากวัยทารก เช่น เด็กเริ่มรู้จักเข้าหาผู้อื่น ไม่คอยแต่เป็นฝ่ายรับการเข้าหาจากผู้อื่นเหมือนวัยทารก
วัยชรา
วัยนี้บทบาททางสังคม ถูกจ้ากัดลงเนื่องจากสุขภาพไม่เอื้ออ้านวย ต้องเป็นภาระให้กับคนใกล้ชิด ท้าให้ผู้สูงอายุถูกทิ้งในบ้านตามล้าพัง เป็นผลให้ผู้ชรารู้สึกว่าตัวเองหมดคุณค่าและไร้ความหมาย
วัยเด็กตอนปลาย
ที่เด่นชัด คือ เด็กเริ่มออกจากบ้าน ไปสู่หน่วยสังคมอื่น จุดศูนย์กลางสังคมของเด็กคือ โรงเรียน เด็กจะเรียนรู้บทบาทใหม่คือ การเป็นสมาชิกของกลุ่มเพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกัน