Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการพื้นฐานสำหรับการตัดสินใจเชิงจริยธรรม, image, image, image, image -…
หลักการพื้นฐานสำหรับการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
การตัดสินใจเชิงจริยธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ทำให้เกิด
ประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม (dilemma)
ที่พยาบาลต้องเผชิญในขณะปฏิบัติงานแต่ละวัน พยาบาลมีความสำคัญในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ที่อาศัยการเรียนรู้และฝึกฝน
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
3. แบบอย่าง
อาจารย์พยาบาล
พยาบาลทุกระดับ
บุคลากรในทีมสุขภาพ
5. สิ่งแวดล้อม
นับตั้งแต่สิ่งแวดล้อมจากการเลี้ยงดูในครอบครัว
สิ่งแวดล้อมในระหว่างการศึกษาเล่าเรียน แบบอย่างจากอาจารย์พยาบาล พยาบาล บุคลากรอื่นในทีมสุขภาพ
สิ่งแวดล้อมในการทำงาน
2. ประสบการณ์
พยาบาลต้องฝึกฝนทักษะในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในขณะปฏิบัติงานในแต่ละวัน
การเยี่ยมตรวจทางด้านจริยธรรม
การประชุมปรึกษาทางจริยธรรม
4. การมีที่ปรึกษาทางด้านจริยธรรม
ที่ปรึกษาทางด้านจริยธรรม
เป็นกลุ่มบุคคลที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
1. การศึกษาและการฝึกอบรม
การศึกษาจริยศาสตร์สำหรับนักศึกษาพยาบาล จำเป็นต้องให้ความสำคัญของการมีทักษะการตัดสินใจเชิงจริยธรรมมากขึ้น เนื่องจากปัจจุบันประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรมมีความซับซ้อนมากขึ้นกว่าในอดีต
ความสำคัญ
เป็นกระบวนการที่ช่วยพยาบาลได้ตรวจสอบประเด็นขัดแย้ง
อย่างเป็นระบบและรอบคอบ ช่วยให้แน่ใจได้ว่าผู้เกี่ยวข้องในการตัดสินใจได้คำนึงถึงประเด็นสำคัญ ช่วยในการดูแลผู้ป่วยมีคุณภาพมากขึ้น เกิดความพึงพอใจในงาน
การตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดแก้ผู้ป่วย จะ
ต้องเป็นการตัดสินใจร่วมกัน
ระหว่างบุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์ ได้แก่ ผู้ป่วย ครอบครัว บุคลากรทีมสุขภาพ
ขั้นตอนในกระบวนการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
3. การกำหนดและการวิเคราะห์ทางเลือก
กำหนดทางเลือกที่เป็นไปได้
วิเคราะห์ผลดี ผลเสียของแต่ละทางเลือก
4. การตัดสินใจเลือก และลงมือปฏิบัติ
ต้องไม่ขัดกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ
ต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ
เลือกทางเลือกที่เกิดประโยชน์สูงสุด
ตัดสินใจร่วมกัน
5. การประเมินผล
ประเมินกระบวนการ
ประเมินผลลัพธ์ การลดความขัดแย้งได้หรือไม่
การเรียนรู้จากการตัดสินใจครั้งนี้
2. การกำหนดประเด็นขัดเแย้งทางจริยธรรม
การเผชิญสถานการณ์ที่เป็นความขัดแย้งทาง
จริยธรรม เป็นเรื่องที่ซับซ้อน ก่อให้เกิดปัญหาตามมาเสมอ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
ข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าและความเชื่อของผู้ป่วย ญาติ และผู้เกี่ยวข้อง
การตัดสินใจและการเผชิญปัญหาของผู้ป่วยและครอบครัว
ข้อมูลเกี่ยวกับเศรษฐกิจของ
ผู้ป่วย
ปัญหาและอุปสรรคในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
ภาระงานมาก อ่อนล้า ทำแต่งานประจำ
ขาดผู้เชี่ยวชาญทางด้านจริยธรรม
ขาดอำนาจในการตัดสินใจ
ขาดเอกสาร คู่มือที่เป็นแนวทางปฏิบัติ
พยาบาลขาดประสบการณ์ ทักษะในการตัดสินใจ
หน่วยงานไม่ได้ให้ความสำคัญในเรื่องตัดสินใจเชิงจริยธรรม
พยาบาลขาดความรู้ในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
แนวทางส่งเสริมการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
การประชุมก่อนและหลังในการพยาบาล (pre-post conference) เกี่ยวกับประเด็นขัดแย้ง
มีการวิเคราะห์ผู้ป่วยรายกรณีเกี่ยวกับประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
จัดตั้งคณะกรรมการด้านจริยธรรม
จัดทำคู่มือแนวทางปฏิบัติในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
ให้ความรุ้แก่พยาบาลในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงจริยธรรม