Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบโครงร่าง skeleton system, 4, 5, 6, 7, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17, 1…
ระบบโครงร่าง skeleton system
หน้าที่กระดูก
1 รักษารูปร่างของร่างกาย
2 ช่วยรองรับอวัยวะต่างๆ ให้ทรงและตั้งอยู่ในตำแหน่งที่ควรอยู่
3 เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนไหว
4 ช่วยป้องกันอันตรายแก่อวัยวะภายใน
5 เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อ และเอ็น
6 ทำให้ร่างกายคงรูปได้
7 ไขกระดูก หน้าที่ผลิตเม็ดเลือดแดง
8 เป็นที่เก็บแร่ธาตุ Calcium ในร่างกาย
ชนิดกระดูก
แบ่งตามรูปร่าง
1 กระดูกยาว ได้แก่ กระดูกแขน กระดูกขา
2 กระดูกสั้น ได้แก่ กระดูกข้อมือ กระดูกเท้า
3 กระดูกแบน ได้แก่ กระดูกซี่โครง กระดูกอก กระดูกสะบัก
4 กระดูกรูปร่างแปลก ได้แก่ กะโหลกศรีษะ กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน
5 กระดูกกลม เช่น กระดูกสะบ้า
ชนิดกระดุก
แบ่งตามโครงร่าง
1 กระดูกพรุน
2 กระดูกแข็ง
1 กระดูกแกน ( Axial Skeleton )
1.1 กระดูกกระโหลก (Skull ) ภายในกระโหลกเป็นโพรงสำหรับบรรจุสมอง จะมีกระดูกกระโหลกศรีษะและ กระดูกย่อยหลายๆ ชิ้นเชื่อมติดกัน กระดูกกะโหลกศรีษะจึงทำหน้าที่ห่อหุ้มและป้องกันสมองด้วย
กระดูกกระโหลก ( Skill )
กระดูกหน้าผาก ( Frontal bone ) 1 ชิ้น
กระดูกหน้าด้านข้างศรีษะ ( Parietal bone ) 2 ชิ้น
กระดูกขมับ ( Temporal bone ) 2 ชิ้น
กระดูกท้ายทอย (Occipital bone ) 2 ชิ้น
กระดูกขื่อจมูก (Ethmoid bone ) 1 ชิ้น
กระดูกรูปผีเสื้อ ( Sphenoid bone ) 1 ชิ้น
1.2 กระดูกใบหน้า ( Bone of face )
กระดูกสันจมูก ( Nasal bone ) 2 ชิ้น
กระดูกกั้นช่องจมูก ( vomer ) 1 ชิ้น
กระดูกข้างในจมูก ( Inferior concha ) 2 ชิ้น
กระดูกถุงน้ำตา ( Lacrimal bone ) 2 ชิ้น
กระดูกโหนกแก้ม ( Zygomatic bone ) 2 ชิ้น
กระดูกเพดาน ( Palatine bone ) 2 ชิ้น
กระดูกขากรรไกร ( Maxillary ) 2 ชิ้น
กระดูกขากรรไกรล่าง ( Mandible ) 1 ชิ้น
1.3 กระดูกหู ( Bone of ear )
กระดูกรูปฆ้อน ( Malleus ) 2 ชิ้น
กระดูกรูปทั่ง (Incus ) 2 ชิ้น
กระดูกรูปโกลน (Stapes ) 2 ชิ้น
1.4 กระดูก สันหลัง ( Vertebra ) เป็นส่วนของกระดูกแกนที่ช่วยค้ำจุนและรองรับน้ำหนักของร่างกาย กระดูกสันหลัง เป็นแนวกระดูกที่ทอดอยู่ทางด้านหลังของร่างกาย ประกอบด้วยกระดูกชิ้เล็กๆ เป็นข้อๆ ติดกันด้วยกล้ามเนื้อและเอ็น ระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อจะมีแผ่นกระดูกอ่อนหรือที่เรียกทั่วว่า " หมอนรองกระดูก ( Intervertebral disc ) " ทำหน้าที่รองและเชื่อมกระดูกสันหลังแต่ละข้อเพื่อป้องกันการเสียดสี ถ้าแผ่นกระดูกอ่อนนี่เสื่อมเราจะปวดหลัง และไม่สามารถบิดหรือเอียงตัวได้
กระดูกสันหลัง ( Vertebra ) 26 ชิ้น
กระดูกสันหลังส่วนคอ ( Cervical vertebrae ) 7 ชิ้น
กระดูกสันหลังส่วนอก ( Thoracic vertebra ) 12 ชิ้น
กระดูกสันหลังส่วนเอว ( Lumbar vertebrae ) 5 ชิ้น
กระดูกกระเบนเหน็บ ( Sacrum ) 1 ชิ้น
กระดูกก้นกบ ( Coccyx ) 1 ชิ้น
1.5 กระดูกซี่โคลง ( Rib ) มีทั้งหมด 12 คู่ หรือ 24 ชิ้น เชื่อมกับกระดูกอ่อน
1.6 กระดูกทรวงอก ( Sternum ) 1 ชิ้น
การแบ่งส่วนต่าง ๆ ของโครงกระดุกร่างกาย
มนุษย์มีกระดูกทั้งหมด 206 ชิ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1 กระดูกแกนกลางของร่างกาย ( Axial skeletal ) มีทั้งหมด 80 ชิ้น
2 กระดูกระยางค์ ( Appendicular skeletal ) ประกอบด้วย กระดูก 126 ชิ้น
2 กระดูกระยางค์ ( Appendicular Skeleton )
Upper Limb
2.1 กระดูกไหล่ ( shoulder girdle ) ประกอบด้วย
กระดูกไหปลาร้า ( Clavicle ) 2 ชิ้น
กระดูกสะบัก ( Scapular ) 2 ชิ้น
2.2 กระดูกต้นแขน ( Humerus ) 2 ชิ้น
2.3 กระดูกปลายแขน ( Bone of forearn ) ประกอบด้วย
กระดูกแขนท่อนใน ( Ulna ) 2 ชิ้น
กระดูกปลายแขนท่อนนอก ( Radius ) 2 ชิ้น
2.4 กระดูกข้อมือ ( Carpal bone ) 16 ชิ้น
2.5 กระดูกผ่ามือ ( Metacarpal bone ) 10 ชิ้น
2.6 กระดูกผ่ามือ ( Phalanges ) 28 ชิ้น
Lower Limp
2.7 กระดูแเชิงกราน ( Hip bone ) 2 ชิ้น
2.8 กระดูกต้นขา ( Femur ) 2 ชิ้น
2.9 กระดูกหน้าแข้ง ( Tibia ) 2 ชิ้น
2.10 กระดูกรูปน่อง ( Fibula ) 2 ชิ้น
2.11 กระดูกข้อเท้า ( Tarsal bone ) 14 ชิ้น
2.12 กระดูกฝ่าเท้า ( Metatarsal bone ) 10 ชิ้น
2.13 กระดูกนิ้วเท้า ( Phalanges ) 28 ชิ้น
กระดูกอ่อน ( Cartilage ) เป๊นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่มีโปรตีนหลายชนิด เช่น คอลาเจน เป็นส่วนประกอบที่มีความอ่อนนุ่มกว่ากระดูก แต่แข็งกว่ากล้ามเนื้อ สามารถเป็นเนื้อเยื่อในระบบโครงร่างได้ พบในบริเวนข้อต่อต่างๆของร่างกาย รวมถึงโครงร่างของ ใบหู จมูก และ หลอดลม กระดูกอ่อนไม่มีหลอดเลือดมาเลี้ยง โดยเซลล์ของกระดูกอ่อนจะแลกเปลื่ยนสารอาหาร โดยแพร่ผ่านคอลลาเจนสู่เส้นเลือดด้านนอก ทั้งนี่กรณเซลล์กระดูกอ่อนถูกทำลายจซ่อมแซมตัวเองได้แต่ช้า เนื่องจากมีเมตาบอลิซึมที่ต่ำ
ข้อต่อ ( Joints ) คือส่วนต่อระหว่างกระดูกตั้งแต่สองชิ้นขึ้นไปมาต่อกัน เพื่อการเคลื่อนไหวของร่างกาย
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้ เช่น ข้อต่อกระโหลกศรีษะ
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่น กระดูกสันหลัง เชิงกราน
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก จะมีน้ำหล่อเลี้ยงข้อต่อ
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก
ข้อต่อแบบบานพับ ( hinge joint )
ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้า ( ball and socket joint )
ข้อต่อแบบเดือย (pivot joint )
ข้อต่อแบบสไลด์ ( gliding, plane joint )
ข้อต่อแบบอานม้า( saddle joint )
ข้อต่อแบบปุ่ม ( condyloid joint )
เอ็น (Tendon ) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันประกอบด้วยคอลลาเจนอัดแน่น ที่มีปลายใดปลายหนึ่งหรือทั้งสองปลายยึดติดกับกล้ามเนื้อ
Ligament ลักษณะแบบเดียวกับเส้นเอ็นแต่ไม่มีปลายติดกับกล้ามเนื้อ จะยึดกระดูกกับกระดูกหรือกับกระดูกอ่อน
Facia พังพืด มีทั้งตื้น ( superficial fascia ) และชนิดลึก ( deep fascia )
การบำรุงกระดูก
อาหารช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กระดูก เช่น อาหรรพวกที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ นมสด ไข่แดง ผักใบเขียว ผลไม้ และอาหารที่มีวิตามินดี เช่น น้ำมันตับปลา ผักสด
การออกกำลังกายเป็นประจำเป็นส่วยหนึ่งที่ช่วยพัฒนากระดูกให้เจริญอย่างเต็มที่และแข็งแรง
ระวังอย่าให้น้ำหนักตัวมากเกินไปเพราะอาจทำให้ข้อต่อชำรุดเสื่อมสภาพเร็ว