Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น รักษาโรคเบื้องต้นทางศัลยกรรม - Coggle Diagram
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น รักษาโรคเบื้องต้นทางศัลยกรรม
wound
Wound Types
Closed wound
contusion, ecchymosis, subgaleal hematoma, blunt injury of
abdomen or chest
contusion wound
บาดแผลที่มีการฟกช้ำของเนื้อเยื่ออ่อน
Open wound
Avulsion wound
Laceration wound
Puncture wound
Crush injury wound
management
Hemostasis
การห้ามเลือดเป็นเรื่องสําคัญเร่งด่วนที่จําเป็นต้องทําเป็นอันดับแรก
cleansing
เป็นขั้นตอนสําคัญที่สุดในการลดอัตราการติดเชื้อของบาดแผลโดยทําความสะอาดบริเวณบาดแผลก่อนการทําหัตถการ
exploration
สํารวจภายในบาดแผล จะทําเมื่อล้างทําความสะอาดบาดแผลเรียบร้อยแล้ว เพื่อดูว่าภายในแผลมีอวัยวะหรือเนื้อเยื่อต่างๆได้รับอันตราย
Debridemen
การตัดเนื้อตายและนําสิ่งแปลกปลอมออกจากบาดแผล จะช่วยให้การหายของ บาดแผลดีขึ้นและลดโอกาสการติดเชื้อลง หลังจากทํา debridement จนเรียบร้อยแล้ว
ควรทําการฉีดล้างบาดแผลอีกครั้งด้วย NSS จนสะอาดแล้วจึงทําการปิดแผล
closure
Secondary closure
การรักษาบาดแผลแบบทําแผลไปเรื่อยๆจนบาดแผลหาย
สนิทเอง
Delayed primary closure
ล้างทําความสะอาดบาดแผลแต่ยังไม่เย็บปิ ดแผล
นัดผู้ป่วยมาทําแผลทุกวันจนแน่ใจว่าไม่มีการติดเชื้อแล้ว จึงทําการเย็บปิ ดแผล
Primary closure
การเย็บปิ ดแผลภายหลังจากการทําความสะอาดบาดแผล
จนเรียบร้อยแล้วทันที
หลักสําคัญในการเย็บแผล
Wound edge eversion ต้องให้ขอบแผลชนเข้ากันพอดี หรือให้นูนเล็กน้อย เมื่อมีการ remodeling ของบาดแผล ขอบแผลจะยุบตัวลงเล็กน้อยทําให้ขอบแผลเรียบพอดี
Wound tension การเย็บเอาเนื้อเยื่อชั้นต่างๆรวมทั้งผิวหนังมาชนกัน โดยใช้ suture material ถ้ามีแรงดึงรั้งเนื้อเยื่อจํานวนมาก ย่อมทําให้เกิด blood supply บริเวณนั้นน้อยลง
layer matching ต้องเย็บเนื้อเยื่อเป็นชั้นๆเข้าหากันตาม ลําดับ เพื่อให้ขอบแผลเรียบเสมอกัน
Collapse dead space การเย็บแผลแล้วทําให้เกิดโพรงหรือช่องว่างในชั้นลึกของบาดแผล ทําให้มี collection หรือ hematoma ภายในแผล เกิดการอักเสบติดเชื้อได้ง่าย
Suture material
โดยเบอร์ 0 มีขนาดใหญ่ที่สุด และเล็กลงเรื่อยๆ ตามจํานวนศูนย์ที่เพิ่มขึ้น คือ 1-0, 2,0จนถึง 11-0 ซึ่งขนาดเล็กที่สุด โดยหลัก
ในการเลือกขนาดของ Suture material คือใช้ขนาดเล็กที่สุดที่สามารถดึงรั้ง เนื้อเยื่อที่ต้องการเย็บให้เข้ามาชนกันติดกันได้โดยสะดวกและแข็งแรงมั่นคง
Absorbable Sutures
วัสดุที่สามารถละลายหรือสลายไปได้เองในเนื้อเยื่อ
หรืออวัยวะของเราไม่จําเป็ นต้องนําออกจากร่างกายในภายหลัง
Non absorbable Sutures
วัสดุที่สามารถสลายไปได้เองได้ยาก ใช้เวลานาน
ประมาณ 1-2 ปี ซึ่งอาจทําให้การตกค้าง และพังผืดมาห่อหุ้มได้ จึงจําเป็ นต้องนําวัสดุเหล่านี้ออกจากร่างกาย
Suture wound
การถือที่จับเข็ม (needle holder) ควรจับให้ด้ามอยู่ในอุ้งมือ และนิ้วชี้วางบริเวณข้อต่อ เพื่อให้การตักเข็มมีความแม่นยํา และมั่นคง
ใช้ forceps จับประคองเข็มที่โผล่ใน subcutaneous tissue ปลด needle holder มาจับเข็มดึงออกมาจากขอบแผล
เลือกเข็มให้เหมาะกับเนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่จะเย็บ จับเข็มสําหรับเย็บนั้น มักจะจับบริเวณ 1 ใน 3 ทางด้านโคนเข็ม
เข็มปลายหน้าตัดเป็ นสามเหลี่ยม (cutting needle) = เย็บผิวหนัง เส้นเอ็น
เข็มปลายหน้าตัดเป็ นวงกลม (round needle) เย็บเนื้อเยื่ออ่อน เช่น ชั้นไขมัน
เวลาตักเข็ม ควรให้ปลายเข็มตั้งฉากกับพื้นผิวที่เราจะเย็บ
ตักห่างจากขอบแผลเท่ากับความลึกของแผล
ตักเข็มให้ไปโผล่อีกด้านของแผลโดยใช้ข้อมือหมุนที่จับเข็มให้เข็มโค้งเป็ นส่วนของวงกลม
ปล่อยเข็มแล้วนํา needle holder มาจับเข็มที่โผล่มาด้านตรงข้ามในท่าคว่ำมือ อย่าจับบริเวณปลายแหลม
จากนั้นหมุน needle holder เป็นแนวโค้ง ตามส่วนของวงกลม โดยการบิดข้อมือ จากท่าคว่ำเป็ นท่าหงายมือ
ใช้ forceps จับเข็ม พลิก needle holder จับ
เข็มใหม่ เพื่อเย็บต่อ
การผูกปมด้วยเครื่องมือ needle holder การผูกปมที่ถูกต้องควรเป็ น square หรือ surgical knot เพื่อไม่ให้ปมเลื่อนหลวมออกได้
ตัดไหมด้วยกรรไกรตัดไหมโดยเหลือ ปลายด้ายให้ยาวประมาณ 1 ซม.โดยถือกรรไกรเหมือนการถือ needle holder
ระยะเวลาที่แนะนําให้ตัดไหม
แผลที่บริเวณใบหน้า ตัดไหมประมาณวันที่ 5
แผลที่หนังศีรษะ ตัดไหมประมาณวันที่ 7-10
บริเวณข้อ, มีการเคลื่อนไหว ตัดไหมประมาณวันที่ 10-14
ชนิดของการเย็บ
Single interrupted suture
เหมาะสําหรับการเย็บ บาดแผลทั่วไปที่มีความลึก และแรงดึงของแผลไม่มากนัก การชิดกันของขอบแผล ชนกันได้เป็นปกติ ไม่มีการม้วนเข้าในของขอบแผล (wound edge inversion)
Continuous overhand suture
เหมาะสําหรับการเย็บแผลที่มีขนาดตื้นแต่ยาว ประหยัดไหมและเวลา
Vertical mattress suture
การเย็บ
แบบนี้จะทําให้ขอบแผลชนกันสนิทการเย็บ
แบบนี้จะทําให้ขอบแผลชนกันสนิท
Subcuticular suture
เย็บบาดแผล บริเวณที่ตื้นไม่ลึกมาก เย็บดึงขอบผิวหนัง (Skin) ชิดเข้าหากัน
Half buried Horizontal mattress suture
เย็บบาดแผลที่เป็ นรูปสามเหลี่ยมปลายแหลม ไม่ต้องการให้แรงกดบริเวณด้านบนส่วนปลายของผิวหนังที่ถูกทําลายและสามารถช่วยลดการเกิดเนื้อตายบริเวณส่วยปลายลงได้
Skin staples
เย็บบาดแผลโดยลวดเย็บ ส่วนใหญ่มักจะทําหลังผ่าตัดโดยแพทย์เนื่องจากสะดวก รวดเร็ว ใช้เวลาน้อย
Skin adhesive strips
เย็บบาดแผลบริเวณบาดแผลที่ตื้น แผลสะอาด ขอบแผลเรียบมีขนาดเล็ก ไม่มีเลือดซึม
การใช้ยาชาเฉพาะที่
จะทําให้การทําความสะอาดหรือเย็บแผลเป็ นไปได้
อย่างราบรื่นโดยที่ผู้ป่ วยไม่รู้สึกเจ็บ
การใช้เข็มฉีดยาขนาดเล็กๆและฉีดช้าๆจะ
ช่วยสามารถลดอาการเจ็บลงได
วิธีการฉีดยาชาเฉพาะที
โดยการปักเข็มเข้าไปตรงมุมด้านใดด้านหนึ่งของบาดแผล บริเวณผิวหนัง ภายหลังได้ทําความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อแล้ว
และดันเข็มไปจนสุดขอบบาดแผล แล้วทดลองดูดดูว่าไม่มีเลือด จึงค่อยๆเดินยาเข้าไปพร้อมกับถอนเข็มออกมาช้าๆ
ยาชาที่นิยมใช
Lidocaine (Xylocaine)
ออกฤทธิ์เร็ว ใช้เวลาในการออกฤทธิ์ประมาณ 3-5 นาที ปริมาณยาที่ให้ได้สูงสุดคือประมาณ 4.5 mg/kg