Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พฤติกรรมก้าวร้าว Aggression, นางสาวโกสุม ศรีสารคาม รหัส…
พฤติกรรมก้าวร้าว
Aggression
Violence
หมายถึง พฤติกรรมทีjเกิดจากความรู้สึกที่ถูกคุกคาม หรือรู้สึกว่าตนเอง ตกอยู่ในอันตราย โดยพฤติกรรมรุนแรงจะเป็น กระบวนการต่อเนื่อง ของความรู้สึกสงสัย คลางแคลงใจ บันดาลความโกรธออกมาอย่างกะทันหันและแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวออกทันที (ธีระ ลีลานันทกิจ, 2541;วาสนา แฉล้มเขตร, 2544; Harper-Jaques &Reimer, 2001)
Aggression
หมายถึงปฏิกิริยาที่แสดงออกถึงการต่อต้านทั้งด้านคำพูดหรือท่าทาง เกิดจากความคับข้องใจ ความระแวงสงสัย ไม่สมหวัง เพื่อป้องกันตนเองทั้งที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม อาจแสดงออกด้วย การคุกคาม มีเจตนาข่มขู่หรือทําให้หวาดกลัว (Harper-Jaques &Reimer, 2001; Hamolia, 2005)
ภาวะอันตราย
หมายความว่า พฤติกรรมที่บุคคล
ที่มีความผิดปกติทางจิตแสดงออกโดยประการที่น่าจะ
ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิตร่างกาย หรือทรัพย์สิน
ของตนเองหรือผู้อื่น
สาเหตุของพฤติกรรมก้าวร้าว
BIO
PSYCHO
SOCIAL
อาการและอาการแสดงออก
Yudofsky et al. (1986) แบ่งพฤติกรรมรุนแรงออกเป็น 4 ลักษณะพฤติกรรมรุนแรงทางคําพูด,พฤติกรรมรุนแรงต่อร่างกายคนอื่น,พฤติกรรมรุนแรงต่อสิ่งของ,พฤติกรรมรุนแรงทางเพศ(WHO,2017)
ระยะของการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว
(Aggressive)
ระยะโมโห สามารถเข้าไปพูด คุยให้สงบลงได้
ระยะอาละวาด งดพูดคุย
เย็นลง งดคุย ให้รอก่อน
สงบ รับฟังได้ คุยได้
การประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
สัมภาษณ์
การใช้แบบประเมิน
แบบประเมิน THE BRØSET VIOLENCE
CHECKLIST : BVC(Woods P, Almvik R.,2002).
แบบประเมิน Overt Aggression Scale : OAS(ธวัชชัย กฤษณะประกรกิจ และคณะ, 2543)
แบบประเมินความรุนแรง( Hamolia, 2005)
การสังเกต
สัญญาณที่บ่งบอกว่าผู้ป่วยใกล้จะก่อความรุนแรง(Symptom)
-น้ำเสียง และคําพูด เสียงดังเอะอะโวยวาย
-ท่าทางตึงเครียด บึงตึง กําหมัด กัดฟัน
-มีการเคลื่อนไหว กระวนกระวาย เดินไปมาตลอด
-แววตาไม่เป็นมิตร ตาขวางท่าทางหวาดกลัว
-เคยมีประวัติทําการรุนแรงมาก่อนมีอาการเมาสุราหรือสารเสพติด
-มีประสาทหลอนทางหูสั่งให้กระทํารุนแรง
ข้อควรคำนึงบุคลากรในสถานการณ์ที่มีความก้าวร้าวรุนแรง
1.Self Control
2.Physical presence
3.The de-escalation conversation
การเตรียมทีม
หลักการในการควบคุมพฤติกรรม
ประเมินสถานการณ์
ทีม(4-5 คน) วางแผน ว่าใครจะจับ มือ ขา จะจํากัด
พฤติกรรมหรือแยกไว้ที่ใด(ปลอดภัยที่สุดคือ 5 คน)
ผู้ที่จะช่วยเหลือควรถอดเครื่องประดับ สิ่งของที่จะเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้ป่วยขณะจับ รู้วิธีการควบคุมที่ปลอดภัย
นางสาวโกสุม ศรีสารคาม รหัส 61113301011 ชั้นปี 3 รุ่่นที่ 36