Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ, นางสาวกฤติยาภรณ์ …
การพยาบาลอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการประกอบอาชีพ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพ ซึ่งรวมถึงการปูองกันอันตรายและ
[ส่งเสริมสุขภาพอนามัย
ปัญหาสุขภาพของคนทำงาน
โรคจากการประกอบอาชีพ (Occupational disease) หมายถึง โรคที่เกิดจากการ ทํางานสัมผัส
กับปัจจัยคุกคามสุขภาพอนามั
8 กลุ่มโรค
1.โรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี
1.บริลเลียม
2) ออกไซด์ของไนโตรเจน
3) แคดเมียม หรือสารประกอบของแคดเมียม
5) ฟอสฟอรัส หรือสารประกอบของฟอสฟอรัส
6) พลวง หรือสารประกอบของพลวง
7) โครเมียม หรือสารประกอบของโครเมียม
8)เฮกเซน
9) แมงกานีส หรือสารประกอบของแมงกานีส
10) กรดแร่ที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคฟัน
11) สารหนู หรือสารประกอบของสารหนู
12) เภสัชภัณฑ์
13) ปรอท หรือสารประกอบของปรอท
15) ออสเมียม หรือสารประกอบของออสเมียม
16) ฟลูออรีน หรือสารประกอบของฟลูออรีน
18) คลอรีน หรือสารประกอบคลอรีน
20) แอมโมเนีย
21) ดีบุก หรือสารประกอบของดีบุก
22) คาร์บอนไดซัลไฟด์
23) สังกะสี หรือสารประกอบของสังกะสี
24) สารอนุพันธ์ฮาโลเจนของสารไฮโดรคาร์บอน
25) โอโซน ฟอสยืน
26) เบนซิน หรือสารอนุพันธ์ของเบนซิน
29) อนุพันธ์ในโตรและอะมิโนของเบนซินหรือ
30) สารกําจัดศัตรูพืช
32) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ หรือกรดซัลฟูริค
33) สารกลุ่มไดอ๊อกซิน
34) ในโตรกลีเซอรีน หรือกรดไนตริคอื่น ๆ
35) สารเคมี หรือสารประกอบของสารเคมีอื่น ซึ่งพิสูจน์
36) แอลกอฮอล์ กลัยคอล หรือคีโตน ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทํางานหรือสารประกอบของ
37) คาร์บอนมอนนอกไซด์ ไฮโดรเจนไซยาในด์ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ไฮโดรเจนซัลไฟด์
38) อะครัยโลในไตรล์
14) บัลเลียม หรือสารประกอบของทัลเลี่ยม ตะกั่ว หรือสารประกอบของตะกั่ว
4) วาเนเดียม หรือสารประกอบของวาเนเดียม
17) เซลีเนียม หรือสารประกอบของเซลีเนียม
19) ทองแดง หรือสารประกอบของทองแดง
27) สารทําให้ระคายเคือง เช่น เบนโชควินโนน
31) อัลดีไฮด์ ฟอร์มาลดีไฮด์และกลูตารัลดีไฮด์
โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ
1) โรคหูตึงจากเสียง
2) โรคจากแสงอัลตราไวโอเลต
3) โรคจากความสั่นสะเทือน
5) โรคจากความกดดันอากาศ โรคจากแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา
6) โรคจากรังสีแตกตัว
7) โรคจากอุณหภูมิต่ํา หรือสูงผิดปกติมาก
8)โรคจากรังสีความร้อน
9) โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน
4) โรคจากรังสีไม่แตกตัวอื่น ๆ
4.โรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
1) โรคกลุ่มนิวโมโคนิโอสิส เช่น ซิลิโดสิส แอสเบสโทลิส
3) โรคปอดจากโลหะหนัก
4) โรคปอดจากอะลูมิเนียม หรือสารประกอบของอะลูมิเนียม
5) โรคบิสสิโนสิส
6) โรคทางเดินหายใจส่วนบนเกิดจากสารภูมิแพ้หรือสารระคาย
7) โรคหืดจากการทํางานสารระคายเคืองในที่ทํางาน เคืองในที่ทํางาน
8) โรคปอดอักเสบภูมิไวเกิน
9)โรคระบบหายใจอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการ
10) โรคซิเดโรสิส
2) โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
3.โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางชีวภาพ ได้แก่ โรคติดเชื้อ หรือโรคปรสิตเนื่องจากการทำงาน
โรคผิวหนังที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
1)โรคผิวหนังที่เกิดจากสาเหตุทางกายภาพ เคมี หรือชีวภาพอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน
2)โรคด่างขาวจากการทํางาน
3) โรคผิวหนังอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุเนื่องจากการทํางาน
โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูก ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานหรือสาเหตุจาก ลักษณะงานที่
จพเพาะหรือมีปัจจัยเสี่ยงสูงในสิ่งแวดล้อมการทำงาน
7.โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน
1) แอสเบสตอส (ใยหิน)
2) น้ามันดิน หรือผลิตภัณฑ์จากน้ามันดิน เช่น น้ามัน
3) เบนซิดีน และเกลือของสารเบนซิดีน
4)ถ่านหิน
5)น้ามันเกลือแร่ รวมทั้งผลิตภัณฑ์จากการกลั่น
6) บิสโครโรเมทธิลอีเทอร์ น้ํามัน เช่น ยางมะตอย พาราฟินเหลว
7) โครเมียมและสารประกอบของโครเมียม
8)ไอควันจากถ่านหิน
9) ถ่านหิน
10) สารประกอบของนิกเกิล
11) เบต้า – เนพลามีน
12) พื้นไม้
13) ไวนิลคลอไรด
14) ไอควันจากเผาไม้
เบนซีนหรืออนุพันธ์ของเบนซิน
16) อนุพันธ์ของไนโตรและอะมิโนของเบนซิน เนื่องจากการทํางาน
15) โรคมะเร็งที่เกิดจากปัจจัยอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุ
โรคเกี่ยวเนื่องกับงาน
โรคที่การทํางานมีส่วนส่งเสริมให้คนทํางานเจ็บป่วย ทําให้โรคที่เป็นอยู่กําเริบ รุนแรงขึ้น หรือทําให้ระยะแฝงของโรคสั้นลงหรือป่วยเป็นโรคเร็วขึ้น
สาเหตุ
ปัจจัยเกี่ยวกับบุคคล (Workers)
1.1 เพศ
สรีระวิทยา
พฤติกรรมสุขภาพ
ลักษณะการทํางาน
1.2 ความรู้และระดับการศึกษา
ผู้ที่มีการศึกษาสูงมักจะมีทักษะสามารถใช้แหล่งประโยชน์ได้ดีกว่าผู้ที่มีระดับการศึกษาที่ต่ํากว่า
1.3 อายุ
อายุต่างกันทําให้มีโอกาสเกิดการเจ็บปุวยด้วยโรคที่แตกต่างกัน
1.4 พฤติกรรมสุขภาพ
1.5 ความไวต่อการเกิดโรค
การทํางานที่มีการแข่งขันสูงอาจก่อให้เกิดความเครียด
ปัจจัยเกี่ยวกับงาน (Working Condition)
ลักษณะงานและสภาพการทํางาน เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพคนทํางาน
ปัจจัยสิ่งแวดล้อมในการทำงาน (Working environment)
การสัมผัสสิ่งคุกคาม
ปัจจัยคุกคามสุขภาพ
3.5 ปัจจัยคุกคามด้านจิตสังคม สภาพงานหรือสิ่งแวดล้อมในการทํางาน
การทํางานเป็นกะ
-มีภาระงานมาก
-งานไม่มั่งคง
3.1 ปัจจัยคุกคามด้านกายภาพ (Physical hazards)
3.1.1 ความร้อน
(Metabolism)
-ภายนอกร่างกาย
3.1.2 ความเย็น
ร่างกายเกิด ความเครียด
-ร่างกายจะปรับตัวเพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อน
3.1.3 เสียง
รับเสียงดังเกินกว่ามาตรฐานเป็นเวลานานจะทําให้เกิด
ความพิการของหูอย่างถาวร
3.1.4 ความกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ
1) ขณะดําน้ําลงลึก
2) กรณีที่ดําน้ำลึกแล้วขึ้นสู่ผิวน้ำเร็วเกินไป
.1.5 ความสั่นสะเทือน
เกิดจากการเคลื่อนไหวของเครื่องมือและเครื่องจักรกล
3.1.6 รังสี
1) รังสีที่แตกตัวจะก่อให้เกิดอันตรายได้มาก เช่น รังสีแกมม่า รังสีเอกซ์ อนุภาคแอลฟุา อนุภาคเบต้า อนุภาคนิวตรอน
2) รังสีชนิดที่ไม่แตกตัว ได้แก่ แสงอุลตราไวโอเลต อินฟราเรท ไมโครเวฟ
3.2 ปัจจัยคุกคามด้านชีวภาพ (Biological hazards)
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ การที่ร่างกายได้รับการติดเชื้อจากการทํางาน ที่ต้องสัมผัสกับ ตัวเชื้อโรคต่างๆ
3.3 ปัจจัยคุกคามด้านเคมี (Chemical hazards
สารเคมี เข้าสู่ร่างกายทางการหายใจ การรับประทาน และการสัมผัสทางผิวหนัง เป็นสาเหตุให้คน ทํางานเกิดโรคและความเจ็บป่วยทั้งเฉียบพลัน
1) โรคพิษของสารหนู (Arsenic poisoning)
2) โรคพิษของสารตะกั่ว (Lead poisoning)
4) โรคพิษจากสารปรอท (Mercury poisoning) poisoning)
3) โรคจากพิษของสารแคดเมียม (Cadmiun
3.4 ปัจจัยคุกคามด้านการยศาสตร์ (Ergonomics) Ergonomics
การศึกษาลักษณะของมนุษย์เพื่อออกแบบที่อยู่อาศัย และสิ่งแวดล้อมในการทํางาน ให้เหมาะสมกับคนที่ทํางาน หรือเป็นการศึกษาคนจากสิ่งแวดล้อมในการทํางาน เพื่อนําไปสู่การออกแบบปรับปรุงงานและสิ่งแวดล้อม
อุบัติเหตุจากการทำงาน(Occupational accidents/ injury)
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe act)
การทํางานขาดความ
-รอบคอบ
ใช้เครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่ไม่ถูกวิธี
สภาพของงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe condition
-โครงสร้างอาคารชํารุด
-เครื่องจักรและอุปกรณ์ชํารุด
การจัดเก็บสารเคมีไม่เหมาะสม
-ระบบความปลอดภัยไม่มีประสิทธิภาพ
การป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ
การค้นหาสิ่งคุกคามสุขภาพ โดยการศึกษาขั้นตอนการผลิต วัสดุที่ใช้ในการผลิต และแผนผังของสถานประกอบกิจการ
การค้นหาปัจจัยคุกคามสุขภาพที่เกิดจากการทํางาน เป็นการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมในการทํางาน
- การตรวจวัด แสง เสียง ความร้อน และระดับสารเคมี
การใช้มาตรการควบคุม มาตรการในการปูองโรคและการบาดเจ็บจากการทํางาน
3.1 มาตรการที่ใช้กับสถานประกอบการ
3.1.1 การควบคุมที่ต้นตอหรือแหล่งกำเนิด (Source)
กําจัดหรือเปลี่ยนแปลง เครื่องมือเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์
-การเลือกวัตถุดิบหรือสารเคมีที่ไม่ก่อให้เกิดพิษ
-ใช้กระบวนการผลิตที่มีอันตรายน้อยทดแทนกระบวนการผลิตที่มีอันตรายมาก
-ใช้วิธีปิดปกคลุมกระบวนการผลิตหรือเครื่องจักรให้มิดชิด
-การใช้ระบบทําให้เปียกชื้นแทนเพราะจะทําให้เกิดละอองฝุุนน้อย
-การใช้ระบบระบายอากาศเฉพาะแห่งเพื่อดูดจับสารพิษ
-การแยกกระบวนการผลิตหรือเครื่องจักรที่มีอันตรายออกไปจากบริเวณที่มีคนทํางาน
-จัดให้มีการบํารุงรักษาเครื่องจักร อุปกรณ์การผลิตที่ดี
-ระบบความปลอดภัยอัตโนมัติ
-การจัดเก็บสารและวัตถุอันดตราย
-การจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ในการทํางาน ต้องอยู่ในสภาพเรียบร้อย สะดวก ปลอดภัยต่อการใช้งาน
-การควบคุมพลังงานอันตราย แหล่งพลังงานอันตราย
3.1.2 การควบคุมที่ทางผ่าน (path)
เป็นวิธีปูองกันเพื่อมิให้ปัจจัยคุกคามที่มาจากแหล่งกําเนิดไปสู่ตัวคนทํางาน วิธีนี้มีประสิทธิภาพรองจากวิธีแรก เมื่อใช้วิธีแรก แล้วไม่สามารถควบคุมปัจจัยอันตรายให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยได้
3.2 มาตรการที่ใช้กับผู้ประกอบอาชีพ
3.2.1 การให้ความรู้และคำแนะนำ การให้ความรู้แก่ผู้ประกอบอาชีพเกี่ยกับอันตรายในการทํางาน
3.2.2 การใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personal Protective Devices) การควบคุมที่ตัวบุคคล (receiver) เป็นมาตรการลําดับสุดท้ายที่จะเลือกใช้ควบคุมปัจจัยอันตรายในสภาพแวดล้อมการทํางาน
3.2.3 การบริหารจัดการ การบริหารจัดการให้เกิดความปลอดภัยต่อสุขภาพ ในการทํางาน Administrative Controls) โดยการสร้างพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัย เพื่อลดการสัมผัสปัจจัยอันตรายในการทํางาน
3.2.4 การคัดกรองและการเฝ้าระวังการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพ (Screening and Surveillance ) ได้แก่การตรวจสุขภาพผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งจะตรวจเมื่อแรกเข้าทํางาน จากนั้นจะมีการตรวจเป็น
ระยะๆ ขณะทํางานเป็นการเฝูาระวังสุขภาพ
หลักการป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ
วิศวกรรม (Engineering)
การใช้หลักและวิชาความรู้ทางด้านวิศวกรรมในทุกแขนง เพื่อ
แก้ไขปรับปรุงสภาพการณ์ทางกายภาพต่างๆทุกชนิดที่เกี่ยวข้องให้เกิดความปลอดภัย
2.การศึกษา (Education) การอบรมและแนะนําพนักงานทุกๆคน ตลอดจนหัวหน้างานและผู้เกี่ยวข้องทุกคนในโรงงาน ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย
3.การออกกฎบังคับ (Enforcement)การกําหนดวิธีการทํางาน หรือวิธีการปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยขึ้นมาเป็นมาตรฐาน
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในงานอาชีวอนามัย
ให้บริการแก่คนทํางานและประชากร วัยแรงงาน ซึ่งมุ่งเน้นทางด้านการส่งเสริม ป้อองกันและฟื้นฟูสุขภาพของคนทํางาน ภายใต้สิ่งแวดล้อมการทํางานที่ปลอดภัยและมีสุขอนามัย
ขอบเขตการทำงานการพยาบาลอาชีวอนามัย
การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
-การป้องกันระดับปฐมภูมิ มุ่งเน้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคงไว้ ซึ่งภาวะสุขภาพของคนทํางาน
การป้องกันระดับทุติยภูมิ เป็นการป้องกันในระยะแรกของการเกิดโรคเพื่อค้นหาโรคในระยะเริ่มแรก ทําให้สามารถให้การรักษาได้ทันท่วงทีและจํากัดความพิการ
การป้องกันระดับตติยภูมิมีจุดมุ่งหมายเพื่อคงไว้ซึ่งความสามารถในการทําหน้าที่ของร่างกาย ภายหลังการเจ็บปุวยหรือบาดเจ็บ
การประเมินสุขภาพและเฝ้าระวังสิ่งคุกคามในการทำงาน โดยการตรวจสุขภาพร่างกายก่อนเข้าทํางานเพื่อจัดลักษณะงานให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของแต่ละบุคคล และใช้ในการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของคนทํางาน
3.การเฝ้าระวังสถานที่ทำงานและการตรวจประเมินปัจจัยคุกคามในการทำงาน โดยการเดินสํารวจสถานที่ทํางาน กระบวนการผลิต และวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิต เพื่อค้นหาปัจจัยคุกคามสุขภาพ การตรวจวัดระดับหรือปริมาณของปัจจัยคุกคามในสภาพแวดล้อมการทํางาน
4.การให้บริการระดับปฐมภูมิและการจัดการรายกรณี เป็นการดูแลสุขภาพเบื้องต้น ไม่ว่าจะเป็นโรคและการบาดเจ็บที่เกิดจากการทํางานและปัญหาสุขภาพอื่นๆ
การให้คำปรึกษา เป็นการช่วยเหลือคนทํางานในการแก้ปัญหา เพื่อให้เข้าใจสาเหตุของปัญหา เสนอแนะทางเลือก และให้การสนับสนุน
การบริหารจัดการ พยาบาลมีบทบาทหน้าที่หลักในการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ
การวิจัย พยาบาลควรทําการวิจัยหรือร่วมดําเนินการวิจัย เพื่อนําผลการวิจัยมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทํางาน
การจัดการด้านกฎหมายและจริยธรรม การที่สถานประกอบกิจการมีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแล ด้านความปลอดภัยให้แก่คนทํางาน
การประสานการทำงานกับชุมชน การที่สถานประกอบกิจการตั้งอยู่ในชุมชน อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนที่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
1) พระราชบัญญัติประกันสังคม
2) พระราชบัญญัติเงินทดแทน
3) พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
4) พระราชบัญญัติโรงงาน
5) พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย
นางสาวกฤติยาภรณ์ แสนสุข
รหัสนักศึกษา 624N46101
: