Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบโครงร่าง skeleton system - Coggle Diagram
ระบบโครงร่าง skeleton system
หน้าที่ของกระดูก
ช่วยป้องกันอันตรายแก่อวัยวะภายใน
เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อ และเอ็น
ทำให้ร่างกายคงรูปได้
ช่วยรองรับอวัยวะต่างๆ ให้ทรงและตั้งอยู่ในตำแหน่งที่ควรอยู่
ไขกระดูก หน้าที่ผลิตเม็ดเลือดแดง
รักษารูปร่างของร่างกาย
เป็นที่เก็บแร่ธาตุ Calcium ในร่างกาย
เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนไหว
การแบ่งส่วนต่าง ๆ ของโครงกระดูกร่างกาย มีกระดูกทั้งหมด 206 ชิ้น
กระดูกระยางค์ (Appendicular skeletal) ประกอบด้วย กระดูก 126 ชิ้น
Lower limb
2.7. กระดูกเชิงกราน (Hip bone) 2 ชิ้น
2.8. กระดูกต้นขา (Femur) 2 ชิ้น
2.9. กระดูกหน้าแข้ง (Tibia) 2 ชิ้น
2.10. กระดูกน่อง (Fibula) 2 ชิ้น
2.11. กระดูกข้อเท้า (Tarsal bone) 14 ชิ้น
2.12. กระดูกฝ่าเท้า (Metatarsal bone) 10 ชิ้น
2.13. กระดูกนิ้วเท้า (Phalanges) 28 ชิ้น
Upper limb
กระดูกปลายแขน (Bone of forearm)
กระดูกปลายแขนท่อนใน (Ulna) 2 ชิ้น
กระดูกปลายแขนท่อนนอก (Radius) 2 ชิ้น
กระดูกข้อมือ (Carpal bone) 16 ชิ้น
กระดูกต้นแขน (Humerus) 2 ชิ้น
กระดูกฝ่ามือ (Metacarpal bone) 10 ชิ้น
กระดูกไหล่ (Shoulder girdle)
กระดูกสะบัก (Scapular) 2 ชิ้น
กระดูกไหปลาร้า (Clavicle) 2ชิ้น
กระดูกนิ้วมือ (Phalanges) 28 ชิ้น
กระดูกแกนกลางของร่างกาย (Axial skeletal) มีทั้งหมด 80 ชิ้น
กระดูกหู (Bone of ear)
– กระดูกรูปฆ้อน (Malleus) 2ชิ้น
– กระดูกรูปทั่ง (Incus) 2 ชิ้น
– กระดูกรูปโกลน (Stapes) 2 ชิ้น
กระดูกสันหลัง (Vertebrae)
– กระดูกสันหลังส่วนคอ (Cervical vertebrae) 7 ชิ้น
– กระดูกสันหลังส่วนอก (Thoracic vertebrae) 12ชิ้น
– กระดูกสันหลังส่วนเอว (Lumbar vertebrae) 5ชิ้น
– กระดูกกระเบนเหน็บ (Sacrum) 1ชิ้น
– กระดูกก้นกบ (Coccyx) 1 ชิ้น
กระดูกใบหน้า (Bone of face)
– กระดูกสันจมูก (Nasal bone) 2ชิ้น
– กระดูกกั้นช่องจมูก (Vomer) 1ชิ้น
– กระดูกข้างในจมูก (Inferior concha) 2 ชิ้น
– กระดูกถุงน้ำตา (Lacrimal bone) 2ชิ้น
– กระดูกโหนกแก้ม (Zygomatic bone) 2ชิ้น
– กระดูกเพดาน (Palatine bone) 2 ชิ้น
– กระดูกขากรรไกรบน (Maxillary) 2ชิ้น
– กระดูกขากรรไกรล่าง (Mandible) 1 ชิ้น
กระดูกซี่โครง (Rib)
True ribs (1-7)
False rib (8-10 )
Floating ribs (11-12)
กระดูกทรวงอก (Sternum)
Manubrium
Body
Xiphoid process
กระดูกกะโหลกศีรษะ (Skull)
– กระดูกหน้าผาก (Frontal bone) 1ชิ้น
– กระดูกด้านข้างศีรษะ (Parietal bone) 2ชิ้น
– กระดูกขมับ (Temporal bone) 2 ชิ้น
– กระดูกท้ายทอย (Occipital bone) 1 ชิ้น
– กระดูกขื่อจมูก (Ethmoid bone) 1ชิ้น
– กระดูกรูปผีเสื้อ (Sphenoid bone) 1 ชิ้น
ชนิดกระดูก
แบ่งตามรูปร่าง
กระดูกแบน ได้แก่ กระดูกซี่โครง กระดูกอก กระดูกสะบัก
กระดูกรูปร่างแปลกได้แก่ กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน
กระดูกสั้น ได้แก่ กระดูกข้อมือ กระดูกข้อเท้า
กระดูกกลม เช่น กระดูกสะบ้า
กระดูกยาว ได้แก่ กระดูกแขน กระดูกขา
แบ่งตามโครงสร้าง
กระดูกพรุน
กระดูกแข็ง
กระดูกอ่อน (Cartilage)
เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่มีโปรตีนหลายชนิด เช่น คอลาเจน เป็นส่วนประกอบที่มีความอ่อนนุ่มกว่ากระดูก แต่แข็งกว่ากล้ามเนื้อ พบในบริเวณข้อต่อต่างๆของร่างกาย รวมถึงโครงร่างของ ใบหู จมูก และหลอดลม กระดูกอ่อนไม่มีหลอดเลือดมาเลี้ยง
Ligament ลักษณะแบบเดียวกับเส้นเอ็นแต่ไม่มีปลายติดกับกล้ามเนื้อ จะยึดกระดูกกับกระดูกหรือกับกระดูกอ่อน
Fascia พังผืด มีทั้งชนิดตื้น ( superficial fascia) และชนิดลึก (deep fascia)
เอ็น (Tendon) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันประกอบด้วยคอลลาเจนอัดแน่น ที่มีปลายใดปลายหนึ่งหรือทั้งสองปลายยึดติดกับกล้ามเนื้อ)
ข้อต่อ (Joints)
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่น กระดูกสันหลัง เชิงกราน
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก จะมีน้ำหล่อเลี้ยงข้อต่อ
ข้อต่อแบบบานพับ (hinge joint)
ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้า (ball and socket joint)
ข้อต่อแบบเดือย (pivot joint)
ข้อต่อแบบสไลด์ (gliding, plane joint)
ข้อต่อแบบอานม้า (saddle joint)
ข้อต่อแบบปุ่ม (condyloid joint)
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้ เช่น ข้อต่อกะโหลกศีรษะ
การบำรุงกระดูก
อาหารช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กระดูก เช่น อาหารพวกที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ นมสด ไข่แดง ผักใบเขียว ผลไม้ และอาหารที่มีวิตามินดี เช่น น้ำมันตับปลา ผักสด
การออกกำลังกายเป็นประจำเง
ระวังอย่าให้น้ำหนักตัวมากเกินไปเพราะอาจทำให้ข้อต่อชำรุดเสื่อมสภาพเร็ว