Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน - Coggle Diagram
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
เพื่อช่วยชีวิต
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การส่งต่อรักษา
การพยาบาลสาธารณภัย
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ความรุนแรงระดับที่ 1 : สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสํานักงานสาธารณสุขในระดับ อําเภอสามารถจัดการได้ตามลําพัง
ความรุนแรงระดับที่ 2 : สาธารณภัยขนาดกลาง หน่วยงานสาธารณสุขระดับอําเภอไม่สามารถจัดการ ได้ ในการจัดการเข้าระงับภัย
ความรุนแรงระดับที่ 3 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่ จําเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ
ความรุนแรงระดับที่ 4 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรอง นายกรัฐมนตรี ที่นายก ฯ มอบหมายให้เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์
อุบัติเหตุกลุ่มชน/อุบัติภัยหมู่
เกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยของประชาชน
จํานวนมาก
มีการทําลายของทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรที่มีอยู่ในภาวะปกติไม่เพียงพอที่จะนํามาใช้ควบคู่สถานการณ์
ระบบและกลไกปกติของสังคมถูกทําลายหรือไม่เพียงพอที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ประเภทของอุบัติภัยหมู่
Multiple casualties
จํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกินขีดความสามารถของ โรงพยาบาล
Mass casualties
จํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลและทีมผู้รักษา
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การบรรเทาภัย (Mitigation)
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
CSCATT
C – Command
S – Safety A, B, C (Personal, Scene,Survivors)
C – Communication
A – Assessment
M : Major incident : เป็นเหตุการณ์สาธารณภัยหรือไม่
E : Exact location : สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน
T : Type of accident : ประเภทของสาธารณภัย
H : Hazard : มีอันตราย หรือเกิดอันตรายอะไรบ้าง
A : Access : ข้อมูลการเดินทางเข้า-ออกจากที่เกิดเหตุ
N : Number of casualties: จํานวนและความรุนแรงของ ผู้บาดเจ็บ
E : Emergency service : หน่วยฉุกเฉินไปถึงหรือยัง
T – Triage
T – Treatment
T – Transportation
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
Disaster paradigm
D – Detection
การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกําลังหรือไม่
I - Incident command
ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security
การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards
การประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายตรางๆที่อาจเหลือ ตกค้างในที่เกิดเหตุ
S – Support
การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment
การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย โดยการใช้หลักการของMASS Triage Model
E – Evacuation
การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery
การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
คุณสมบัติพยาบาลสําหรับจัดการสาธารณภัย
มีความรู้ทางการพยาบาลและมีประสบการณ์การปฏิบัติงานการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤตและ ด้านการรักษาโรคเบื้องต้น
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเป็นผู้นํา และสามารถแก้ปญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
มีความรู้ด้านสาธารณภัยมีความสามารถในการประเมินสถานการณ์และคาดการณ์ถึงปญหาสุขภาพที่ จะเกิดจากสาธารณภัยชนิดต่างๆ รวมทั้งมีความสามารถให้การพยาบาลได้ครอบคลุมทุกระยะของการเกิดภัย
มีทักษะในการสื่อสารและการบันทึกข้อมูลต่างๆได้อย่างถูกต้องครบถ้วนชัดเจน
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์