Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5แนวคิด หลักการการพยาบาล ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle…
บทที่ 5แนวคิด หลักการการพยาบาล
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด :check:
1.Anglo-AmericanModel(AAM)
ปีเริ่มต้น 1970s จุดประสงคหลัก-“Scoop and run” เวลาสําหรับการประคับประคองอาการในสถานที่เกิดเหตุสั้น และนําผู้ป่วยส่งยังสถานพยาบาลให้เร็วที่สุดนําผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแลโดยมีแพทย์กํากับ
ลําเลียงผ้ปู่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
2.Franco-German Model (FGM)
ปีเริ่มต้น 1970s จุดประสงคหลัก “Stay and Stabilize” ให้เวลานานในการดูแลอาการในสถานที่เกิดเหตุและนําการรักษาไปยังสถานที่เกิดเหตุนําบริการโรงพยาบาลมาหาผู้ป่วย
แพทย์ให้การดูแลโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย อาจนําเทคโนโลยีรวมไปให้การดูแลในขั้นสูง
ลําเลียงผ้ปู่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
ความหมาย :red_flag:
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จําเป็นต้องดําเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที อาจเกิดจากภาวะต่างๆ
การเกิดโรคในระบบต่างๆ ของร่างกาย การบาดเจ็บ การเกิดโรคติดต่อ และโรคติดเชื้อ
การเจ็บป่วยวิกฤต
Critical care
เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยการรักษา จึงมุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏอันตราย โดยเฉพาะระบบของร่างกายที่มีการล้มเหลว เพื่อแก้ไขภาวะล้มเหลว หรือรักษาสภาพการทํางานของระบบนั้น
Crisis care
เพื่อดํารงรักษาชีวิต มุjงเนhนแก้ไขอาการที่ปรากฏในครั้งแรก และการป้องกันไม่ให้เข้าส่สถานการณ์คับขันCrisisในการประคับประคองให้ความสําคัญกับทุกระบบไม่ให้นําสู่สภาวะที่เป็นปัญหาต่อไป
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน :<3:
1.ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
2.หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า30ครั้งต่อนาที หายใจลําบากหรือหอบเหนื่อย
3.คลําชีพจรไม่ได้ หรือชีพจรช้ากว่า 40หรือเร็วกว่า30 ครั้ง/นาที
4.ความดันโลหิตSystolicต่ํากว่า80มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130มม.ปรอท
5.ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
6.เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
7.มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
8.อุณหภูมิของร่างกายต่ํากว;า35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
9.ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งู หรือสารพิษชนิดต่างๆ
ผู้ป่วยวิกฤต :black_flag:
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้
ผู้ป่วยที่หมดสติ
ผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง
Septic Shock
3.ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง
myocardialin farction
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย :star:
1.กลุ่มอาการไม่รุนแรง
2.กลุ่มอาการหนัก
3.กลุ่มอาการหนักมาก
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน :!!:
1.มีหลักในการอุ้มยกเคลื่อนย้ายผ้ป่วยจากยานพาหนะไปยังห้องพยาบาล อย่างนุ่มนวลรวดเร็วปลอดภัย
2.มีการซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสําคัญอย่างละเอียด ในเวลาที่รวดเร็ว
3.ทําการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยํา
4.ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล และภายในเขตการรับรองของกฎหมาย
5.ให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
6.ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
7.มีการนัดหมายผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษา่ต่อเนื่อง
8.มีการสูงต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก และภายนอกโรงพยาบาล
การพยาบาลสาธารณภัย :warning:
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข :pencil2:
ความรุนแรงระดับที่ 1
สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก
ความรุนแรงระดับที่ 2
สาธารณภัยขนาดกลาง หน่วยงานสาธารณสุขระดับอําเภอไม่สามารถจัดการได้ ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในการจัดการเข้าระงับภัย
ความรุนแรงระดับที่ 3
สาธารณภัยขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่จําเปfนต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ ต้องอาศัยการสนับสนุนจากหน่วยงานหลายส;วนราชการภายในเขตจังหวัด จังหวัดใกล้เคียง และระดับเขต
ความรุนแรงระดับที่ 4
สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรี ที่นายก ฯ มอบหมายให้เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์
อุบัติเหตุกลุ่มชน/อุบัติภัยหมู่(MASS CASSUALTIES) :green_cross:
1.เกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยของประชาชนจํานวนมาก
2.มีการทําลายของทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม
3.ทรัพยากรที่มีอยู่ในภาวะปกติไม;เพียงพอที่จะนํามาใช้ควบคู่สถานการณ์
ระบบและกลไกปกติของสังคมถูกทําลายหรือไม่เพียงพอที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ประเภทของอุบัติภัยหมู่แบ่งตามขีดความสามารถของสถานพยาบาล
หลักการพยาบาลสาธารณภัย :check:
1.การบรรเทาภัย (Mitigation)
การจัดทําโครงการบรรเทาภัยก;อนเกิดภัย การจัดทําข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย การเฝ้าระวังหรือระบบการมีข่าวกรองที่ดีในการแจ้งภัยล่วงหน้า โดยการบูรณาการทรัพยากรจากทุกภาคส่วน
2.การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การเตรียมคนให้พร้อม มีแผนที่ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีการฝึกอบรมความรู้และทักษะ
3.การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
โดยยึดตามหลัก CSCATT
C –Command
C –Communication
S –Safety A, B, C (Personal, Scene, Survivors)
A –Assessment
M : Major incident : เป็นเหตุการณ์สาธารณภัยหรือไม่
E :Exactlocation: สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน
T :Typeofaccident: ประเภทของสาธารณภัย
H :Hazard: มีอันตราย หรือเกิดอันตรายอะไรบ้าง
A : Access :ข้อมูลการเดินทางเข้า-ออกจากที่เกิดเหตุ
N :Numberofcasualties: จํานวนและความรุนแรงของผู้บาดเจ็บ E:Emergencyservice: หน่วยฉุกเฉินไปถึงหรือยัง
T –TriageT
–TreatmentT
–Transportation
4.การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
5.การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ :check:
D –Detection คือ การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกําลังหรือไม่
I -Incident command คือ ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S –Safety and Security
A –Assess Hazards
S –Support
T –Triage/Treatment
E –Evacuation
R –Recovery
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
1.การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
2.การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
3.การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
4.การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
5.การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จํากัด
6.การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
7.การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
8.การดําเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานในภาพรวม
9.การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
บทบาทพยาบาลในระบบทางดวน (Fast track)
1.EMS (accessibility)
2.Triage/ Specific triage/ Assessment
3.Activate system
4.Flow
5.Investigation
6.Care delivery
7.Monitoring: early warning signs & E-response
8.Risk management (general & clinical)
9.Co-ordination, Communication, Handover
10.Inter & Intra transportation
1.Evaluation, output, outcome
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
ประเทศสหรัฐอเมริกาโทร 911 ประเทศไทยโทร 1669
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
โดยต้องคํานึงถึงความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อมเป็นอันดับแรก (scene safety)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อ (Rehabilitation& transfer)
การดูแลผู้บาดเจ็บ
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
A =Airway maintenance with cervical spine protection
B=Breathing and ventilation
C=Circulation with hemorrhagic control
D=Disability (Neurologic Status)
E=Exposure / environmental contro
Resuscitation
การดูแลทางเดินหายใจ การชjวยหายใจ การใส่ท่อช่่วยหายใจ การให้สารละลายทางหลอดเลือดดํา การห้ามเลือด
Secondary survey
การซักประวัติ การตรวจ Head to toe การตรวจทางรังสีรักษา การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษต่างๆ
Definitive care
การผ่าตัด Craniotomy การผ่าตัดหน้าท้อง Exploratory Laparotomy การนอนรักษาตัวในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก (Intensive care unit)
Primary survey:ขั้นตอนและวิธีการ
Airway maintenance with cervical spine protection
เริ่มต้นจากการประเมิน Airway เพื่อหาอาการที่เกิดจากทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction) ควรรวมไปถึงการดูดเสมหะ
เปิดทางเดินหายใจให้โล่งโดยใช้วิธีการ Head-tilt Chin-lift, กรณีผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับอุบัติเหตุ
Breathing and Ventilation
1.การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
2.ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
4.ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
3.คลํา การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
Circulation and Hemorrhage control
อาการทางระบบประสาท
หัวใจและหลอดเลือด
ผิวหนัง
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบหายใจ
ภาวะกรดด่างของร่างกาย
การกู้ชีพ (Resuscitation)
1.อย่างน้อยควรเปิดหลอดเลือดดําด้วยเข็มขนาดใหญ่และสั้น 2เส้น เบอร์ 18,16,14
2.หลีกเลี่ยงแทงเส้นใต้ตําแหน่งของแขนขาที่ได้รับบาดเจ็บ
3.กรณีสงสัยว่ามีเลือดออกในช่องท้อง หลีกเลี่ยงการให้สารน้ําที่ขาเพราะจะทําให้สารน้ําไหลรั่วเข้าช่องท้อง
4.ให้สารน้ําที่เป็น Balance salt solution
5.หากอาการทรุดลง ไม่ตอบสนองพิจารณาการให้เลือดกรุป
6.ไม่ควรให้เลือดร่วมกับ Lactated Ringer's solution, acetarสารน้ําดังกล่าวมีส่วนผสมของแคลเซียมเพราะจะทําให้เลือดอตกตะกอน
7.หลังได้รับสารน้ําหรือเลือดควรประเมินการตอบสนองต่อสารน้ํา
การประเมินสภาพราางกายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด (Secondary Survey)
History
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมี
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
•Past illness/ Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
•Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Event/ Environment related to injury
Physical Examination
Head
Facial
Cervical spine and Neck
Chest
Abdomen
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment
Pelvic fracture
Neurological system
Reevaluation