Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา, image, image, image, image - Coggle Diagram
สิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความหมาย
สื่อสิ่งพิมพ์เป็นสิ่งที่พิมพ์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นแผ่นกระดาษหรือวัตถุใด ๆด้วย วิธีการต่าง ๆ อันเป็นชิ้นงานที่มีลักษณะเหมือนต้นฉบับขึ้นมาหลายสำเนาหรือในปริมาณมาก
ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์
2.นิตยสารและวารสาร
นิตยสาร
สิ่งที่ตีพิมพ์ เป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มัเนื้อหาหลากหลาย ส่วนใหญ่มักมีลักษณะที่ให้ความรู้ทั่วไป อ่านเพื่อการผ่อนคลาย
วารสาร
สิ่งพิมพ์ที่ตีพิมพ์เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอและจำต้องตรวจสอบคุณภาพบทความโดยผู้รู้ในสาขาวิชานั้น ๆ ส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับวิชาการ
3.หนังสือเล่ม
สิ่งตีพิมพ์ที่มีการเย็บเล่มที่มีความหนาและขนาดต่าง ๆ กัน ไม่ได้มีการออกประจำเหมือนหนังสือพิมพ์ นิตยสารหรือวารสาร
1.หนังสือพิมพ์
หนังสือพิมพ์เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่รายงานข่าวหรือรายงานเหตุการณ์และสิ่งน่าสนใจประจำวัน นอกจากนี้อาจมีสิ่งอื่น ๆ เช่น โฆษณา
4.สิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ
สิ่งพิมพ์ทุกชนิดที่ใช้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เข่น เพื่อโฆษณา เพื่อการศึกษา เป็นต้น
ประเภทสื่อพิมพ์เฉพาะกิจ
จุดสาร/จดหมายข่าว
เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร หรือ เผยแพร่ความรู้
แคตตาล็อก
เพื่อให้รายละเอียดสินค้าหรือบริการ
แผ่นพับ/โบรชัวร์
เพื่อเผยแพร่และแจกจ่ายเพื่อการประชาสัมพันธ์กิจกรรมเฉพาะ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Infographic
การจัดระเบียบข้อมูล
แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน
1.รวบรวมข้อมูล
2.คัดสิ่งที่ไม่ต้องการออก
3.ย่อยข้อมูลให้กระชับ
ความหมาย
การทิ้งสิ่งที่ไม่จำเป็นออกไป สิ่่งที่จำเป็นในการจัดระเบียบ คือ ความสามารถในการตัดสินใจ
การเรียบเรียงข้อมูลให้เป็นระเบียบ
แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน
2.เรียบเรียงข้อมูลใหม่
3.ทำโครงสร้าง
1.แบ่งหมวดหมู่
แผนภาพ คืออะไร
กราฟฟิกที่นำเสนอแผนผังและคำสั้น ๆ มาประกอบกันเพื่อเป็นเรื่องราว ทำให้ดูน่าสนใจมากยิ่งขึ้่น
เนื้อหาที่เหมาะกับการทำ Infographic
4.การเปรียบเทียบ
5.การเปลี่ยนแปลงของเวลา
3.รายงานผล
6.คำอธิบายเชิงวิชาการ
2.How to มักตั้งชื่อเรื่องด้วยคำถาม
7.ตาราง
1.หัวข้อที่อยู่ในความสนใจของคนในช่วงนั้น ๆ
8.สรุปภาพรวม
Pictogram คืออะไร
กราฟฟิกที่ใช้แทนหรือเสริมคำพูโ ช่วยแก้ปัญหาที่มีพื้้นที่อธิบายไม่เพียงพอ Pictogram จะช่วยร่นระยะเวลาให้สั้นลง ช่วยประหยัดพื้นที่
ทักษะที่จำเป็นในการทำ Infographic
ทักษะในการเรียบเรียง
ทักษะด้านดีไซน์
ทักษะการวิเคราะห์
จุดร่วมในงาน Infographic
2.แหล่งที่มาข้อมูล
3.เครดิตผู้เผยแพร่ข้อมูล
1.ชื่อเรื่อง
4.อื่น ๆ
รูปแบบดีไซน์พื้นฐานของ Infographic
3.แบบความสัมพันธ์
4.แบบแผนที่
2.แบบโวลุม
5.แบบไทม์ไลน์
1.แบบตาราง
ขั้นตอนการทำ Infographic
3.ศึกษาข้อมูล
4.กำหนดเนื้อหา/คอนเซ็ปต์
2.กำหนดหัวเรื่อง
5.ออกแบบ
วิธีการเล่าเรื่อง
2.การพัฒนาโครงเรื่อง
3.จุดไคลแมกซ์
1.การเกริ่นนำ
4.ตอนจบ
1.ทำความเข้าใจวัตถุประสงค์
6.ตรวจสอบ
ตัวอย่างสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการศึกษา
Brochure
Magazine
Board Game
Card
Infographic
แนวทางในการออกแบบงาน Infographic
กฎหลักในการออกแบบ infographic
2.กฎการโฟกัส
เลือกรูปที่สื่อความหมายกับเนื้อหามากที่สุดมา 1 รุป จัดวางให้โดดเด่น
3.กฎของตัว Z
เรียงลำดับข้อมูลจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง
1.กฎ 3 สี
ควรใช้สีไม่เกิน 3 โทนสี เพื่อให้อ่านง่าย
4.กฎการหายใจ
เว้นช่องว่างระหว่างแต่ละวัตถุ เพื่อลดความอึดอัด
รูปแบบการจัดวาง Layout ของ Infographic
Timeline
เล่าประวัติหรือการเดินทางของบางสิ่ง
Flowchart
การเสนอคำถามที่มีคำตอบชัดเจน
Roadmap
เล่ากระบวนการหรือขั้นตอนการทำงานของบางสิ่ง
Structure
แสดงส่วนประกอบของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
Comparison
เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง
Useful Bait
แสดงให้เห็นถึงวิธีทำบางอย่างที่อ่านแล้วนำไปใช้ได้ทันที
Listed
เหมาะกับเรื่องที่มีหัวข้อหลักข้อเดียว แต่มีหลายหัวข้อย่อย
9.Number Porn
นำเสนอข้อมูลที่มีตัวเลข
Visualized Article
แปลงบทความให้เป็นภาพ โดยสรุปและเลือกประเด็นที่จะนำเสนอ
ขั้นตอนการทำ Infographic
4.ไอเดียเมนูลับ
คิดหาไอเดียที่ไม่น่าเบื่อ
5.คิดสูตรการปรุง
ร่าง Infographic ตามไอเดียที่วางไว้ ทำให้เข้าใจง่าย
3.การจัดหมวดหมู่
จัดข้อมูลเนื้อหาเดียวกันไว้ด้วยกัน
6.ปรุงแต่ง
ออกแบบตามแบบร่างที่กำหนดไว้
2.คัดของเสียทิ้ง
คัดข้อมูลที่คนไม่อยากรู้ออก
7.เสิร์ฟเมนูจานเด็ด
เผยแพร่ผลงานสู่โลกออนไลน์ ทำให้น่าสนใจ
1.ตามล่าหาวัตถุดิบชั้นดี
หาข้อมูลดี ๆเพื่อนำมานำเสนอ
เทคนิคการออกแบบ Infographic ให้มีประสิทธิภาพ
5.Illustratiion
6.Collout
4.Negative space
7.Layout
3.Iconography
8.Comparison
2.Color
9.Acuracy
1.Typography
Simplicity
อินโฟกราฟฟิกแบบมีปฏิสัมพันธ์
ความหมาย
การนำเสนอข้อมูลต่างๆ ผ่านการมองเป็นหลัก
การวิเคราะห์รายละเอียด
4.ส่วนหัวใจ
ควรเลือกประเด็นที่จะนำเสนออย่างชัดเจน และใช้ข้อมูลบอกเล่าเรื่องราว
3.ส่วนมือ
การชี้แจงคำสั่งนำทาง
ควรเป็นคำสั่งที่สั้น กระชับ และเข้าใจง่าย
การถามคำถาม
คำถามแบบมีตัวเลือกจะทดสอบความรู้และสำรวจข้อมูลต่างๆของผู้ใช้
ส่วนตา
ต้องเห็นภาพชัดเจน
ทำให้ผู้ใช้จินตนาการและเข้าใจเนื้อหาที่สำคัญได้อย่างรวดเร็ว
ส่วนสมอง
ข้อมูลที่เป็นภาพจะทำให้เข้าถึง จดจำ และสนใจในเนื้อหาได้มากกว่า
ส่วนเนื้อเยื่อประสาน
การทำงานที่ทำให้ผู้ใช้เกิดการตอบสนอง
การขยาย (Enlarge)
การเลือก (Select)
การแสดงให้เห็น (Reveal)
การคำนวณ (Calculate)
การชี้แล้วเปลี่ยนสี (Hover)
การตอบคำถาม (Answer)
มี 3 ระดับ
ระดับกลาง
การเชื่อมโยงข้อมูลให้เป็นลำดับ
หรือเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจต่างๆด้วย Hyperlink
3.ระดับสูง
ผู้ใช้สามารถควบคุมหรือแก้ไขเนื้อหา และเลือกเส้นทางการชมด้วยตนเอง
ระดับต่ำ
การคลิกที่วัตถุแล้วผู้ใช้ได้รับการตอบสนอง
โดยจะต้องนำไปสู่ข้อมูลใหม่หรือข้อมูลถัดไป
ตัวอย่าง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผลกระทบของ Interactive Infographic ที่มีต่อการระลึกได้อย่างถูกต้องของผู้ใช้สื่อ
แสดงให้เห็นถึงขีดจำกัดของสื่อชนิดตาราง นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ยังระบุว่า ชนิดของ Infographic ที่แตกต่างกันนั้น ส่งผลต่อความตั้งใจดูในระดับที่แตกต่างกันด้วย
บทบาทของ Interactive Graphic ที่มีผลต่อการลดการรับรู้ที่คลาดเคลื่อนของผู้มีสิทธเลือกตั้ง
กลุ่มที่ดู Interactive Graphic รับรู้สารได้อย่างถูกต้องแม่นยำสูงกว่ากลุ่มที่ดู Static Graphic