Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย,…
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวทางปฏิบัติในระบบทางด่วน (Fast track) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
หลักการ
3.จัดทําแนวปฏิบัติ ลําดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงประตูโรงพยาบาล หรือ ห้องฉุกเฉิน พร้อมกําหนดหน้าที่ต่างๆของผู้ที่เกี่ยวข้อง
4.จัดทํารายการตรวจสอบ (check list) สําหรับการลงข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ
2.จัดทําแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย พร้อมกําหนดลักษณะผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนที่เข้าระบบทางด่วน
7.กําหนด clinical indicator เพื่อการติดตามและประเมินผลในแต่ละขั้นตอนของระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
5.ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถดําเนินการตามระบบทางด่วน
1.การจัดทําควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ ประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ใน ส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องมาร่วมดําเนินการ
6.แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ำเวลาเป็นสําคัญ ต้องมีแผนปฏิบัติการรองรับเพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ตามมาตรฐานที่กําหนด
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินได้
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
กลุ่มอาการหนัก ต้องห้ามนอนหรือนั่งมาอาการแสดงยังคลุมเครือต้องใช้การตรวจอย่างละเอียด
กลุ่มอาการหนักมาก หรือสาหัสต้องการการรักษาโดยด่วนหรือช่วยชีวิตทันทีกลุ่มผู้ป่วยเสียชีวิต เป็นกลุ่มที่หมดหวังในการรักษา
กลุ่มอาการไม่รุนแรง หากผู้ป่วยเดินได้อาจถือว่าอาการไม่หนัก
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ผู้ที่มีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชํานาญเฉพาะทาง
ใช้หลักและกระบวนการพยาบาลที่สมบูรณ์ เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต มีลักษณะทางคลินิก
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า 30 ครั้งต่อนาที หายใจลําบากหรือหอบเหนื่อย
คลําชีพจรไ่ม่ได้ หรือชีพจรช้ากว่า 40หรือเร็วกว่า30 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิตSystolicตำ่กว่า 80 มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130 มม.ปรอท
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
อุณหภูมิของร่างกายตำ่กว่า 35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งู หรือสารพิษชนิดต่างๆ
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จําเป็นต้องดําเนินการช่วยเหลือ
การเจ็บป่วยวิกฤต
Critical care
เพื่อดํารงรักษาชีวิต มุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏในครั้งแรก และการป้องกันไม่ให้เข้าสู่สถานการณ์คับขันCrisisในการประคับประคองให้ความสําคัญกับทุกระบบไม่ให้นําสู่สภาวะที่เป็นปัญหาต่อไป
Crisis care
เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยการรักษา จึงมุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏอันตราย โดยเฉพาะระบบของร่างกายที่มีการล้มเหลว เพื่อแก้ไขภาวะล้มเหลว หรือรักษาสภาพการทํางานของระบบนั้น
อุบัติเหตุ (Accident)
อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดหมายมาก่อน
ทำให้เกิดการบาดเจ็บตายและการสูญเสียทรัพย์สินโดยที่เราไม่ต้องการ
ผู้ป่วยวิกฤตมีลักษณะ
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง
ผู้ป่วยSeptic Shock
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง
ผู้ป่วย myocardial infarction
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้
ผู้ป่วยที่หมดสติ
ผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
แนวคิด
(1) Anglo-American Model (AAM)
แนวคิดการเช่ือมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งของ องค์การความปลอดภัยสาธารณะ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
รถ Ambulance เป็นหลัก
ใช้ Aero-medical หรือ
Coastal ambulance
ปลายทาง
ลําเลียงผ้ปู่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
องค์การที่เกี่ยวข้อง
องค์การที่เกี่ยวข้องการ บริการ
ความปลอดภัยของ สาธารณะ
ตำรวจ
สถานีดัเพลิง
บุคลากรผู้ให้บริการ/ให้การดูแล
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแล โดยมีแพทย์กํากับ
ค่าใช้
สูงกว่า FGM
ปรัชญา/จุดประสงค์หลัก
“Scoop and run” เวลา สําหรับการประคับประคอง อาการในสถานที่เกิดเหตุสั้น และนําผู้ป่วยส่งยังสถาน พยาบาลให้เร็วที่สุด
นําผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลให้ เร็วที่สุด
จำนวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการ นําส่งไปยังโรงพยาบาล
เพียงจํานวนน้อยที่ได้รับการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
ปีเริ่มต้น
1970s
ตัวอย่างประเทศ
สหราชอาณาจักร
สหรัฐอเมริกา
แคนาดา
นิวซีแลนด์
ออสเตรเลีย
(2) Franco-German Model (FGM)
แนวคิดการเช่ือมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็น ส่วนหนึ่งขององค์การสาธารณสุข
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
Helicopter
Ambulance
Coastal ambulance
ปลายทาง
ลําเลียงผู้ป่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
องค์การที่เกี่ยวข้อง
ภายใต้บริการจะเป็ส่วนหนึ่ง ของระบบสุขภาพ
บุคลากรผู้ให้บริการ/ให้การดูแล
แพทย์ให้การดูแลโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย อาจนําเทคโนโลยีรวมไปให้การดูแล ในขั้นสูง
ค่าใช้
ตำ่กว่า AAM
ปรัชญา/จุดประสงค์หลัก
“Stay and Stabilize” ให้เวลานานในการดูแลอาการในสถานที่เกิดเหตุและนําการรักษาไปยังสถานที่เกิดเหตุ
นําบริการโรงพยาบาลมาหาผู้ป่วย
จำนวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการรักษา ณ จุดเกิดเหตุ
เพียงจํานวนน้อยที่นําส่งโรงพยาบาล
ปีเริ่มต้น
1970s
ตัวอย่างประเทศ
กรีซ
มอลต้า
ฝรั่งเศส
ออสเตรีย
เยอรมนี
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักในการพยาบาล
2.มีการซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสําคัญอย่างละเอียด ในเวลาที่รวดเร็ว กรณีผู้ป่วยอุบัติเหตุต้องซักประวัติการช่วยเหลือเบื้องต้น วิธีการ ระยะเวลาในการนําส่งเพิ่มเติม
3.ทําการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยํา
1.มีหลักในการอุ้มยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากยานพาหนะไปยังห้องพยาบาล อย่างนุ่มนวลรวดเร็วปลอดภัย
4.ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล และภายในเขตการรับรองของกฎหมาย โดยคงไว้ซึ่งหน้าที่ของอวัยวะสําคัญชีวิตและสภาพร่างกายของผู้ป่วย
5.ให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
6.ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
7.มีการนัดหมายผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง
8.มีการส่งต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก และภายนอกโรงพยาบาล
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
1.เพื่อช่วยชีวิต
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
3.การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็
4.การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว ต้องรีบเคลื่อนย้ายนําส่งโรงพยาบาล
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาลพ.ศ.2552
ค้นหาสาเหตุและ/หรือปญหาที่ทําให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรือ
อุบัติเหตุ แล้วดําเนินการแก้ไข
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย
และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสําคัญของร่างกายให้คงไว้
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่กําลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
การพยาบาลสาธารณภัย
ประเภทของภัยพิบัติ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Disaster)
ภัยที่เกิดจากมนุษย์(Man-made Disaster)
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ความรุนแรงระดับที่ 2
สาธารณภัยขนาดกลาง หน่วยงานสาธารณสุขระดับอําเภอไม่สามารถจัดการได้ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในการจัดการเข้าระงับภัย
ความรุนแรงระดับที่ 3
สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่จําเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ ต้องอาศัยการสนับสนุนจากหน่วยงานหลายส่วนราชการภายในเขตจังหวัด /จังหวัดใกล้เคียง และระดับเขต ซึ่งสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดไม่สามารถควบคุมสถานการณ์และจัดการระงับภัยได้
ความรุนแรงระดับที่ 1
สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสํานักงานสาธารณสุขในระดับอําเภอสามารถจัดการได้ตามลําพัง
ความรุนแรงระดับที่ 4
สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรี ที่นายกฯ มอบหมายให้เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์
บทบาทพยาบาลกับ Fast track
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
5.การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จํากัด
6.การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
4.การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
7.การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
3.การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
8.การดําเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานในภาพรวม
2.การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
9.การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
1.การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
5.Investigation
6.Care delivery
4.Flow (purpose-process-performance)
7.Monitoring: early warning signs & E-response
3.Activate system
8.Risk management (general & clinical)
2.Triage/ Specific triage/ Assessment
9.Co-ordination, Communication, Handover
10.Inter & Intra transportation
11.Evaluation, output, outcome
1.EMS (accessibility)
12.Improvement, Innovation, Integration
Trauma life support
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
(Prehospital care)
มีการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุโดยมีบุคลากรที่เป็นบุคลากรที่ได้รับการอบรมให้ความรู้ความสามารถ ในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ การช่วยฟื้นคืนชีพ
ต้องคํานึงถึงความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อมเปนอันดับแรก (scene safety)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล
(Hospital care)
การดูแลรักษาในโรงพยาบาลตั้งแต่การคัดแยก ระบบทางด่วนฉุกเฉิน การวินิจฉัย การรักษาตามความเร่งด่วน
การดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤต หอผู้ป่วย การฟื้นฟู ซึ่งทุกขั้นตอนจะต้องกระทําถูกต้องตามหลักวิชาชีพและมีประสิทธิภาพ
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การเข้าถึงช่องทางสําหรับการติดต่อในการแจ้งเมื่อมีเหตุเกิดขึ้น
มีส่วนช่วยเหลือให้ผู้บาดเจ็บได้รับการรักษาดูแลได้ในเวลาอันรวดเร็ว
การฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อ
(Rehabilitation& transfer)
การดูแลต่อเนื่องในรายที่พบปัญหาหรือต้องได้รับการฟื้นฟูเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีภายหลังจากการได้รับการรักษาในโรงพยาบาล
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
การกู้ชีพ (Resuscitation)
การแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตหรือที่เป็นอันตรายเร่งด่วน โดยการกู้ชีพจะทําหลังจากการประเมิน เป็นลําดับของ ABC และสามารถทําไปพร้อมๆกับการประเมิน
การประเมิน
Airway
การทําDefinitive airway ในผู้บาดเจ็บที่มีปญหาการหายใจ สามารถรักษาได้โดยการใส่ท่อช่วยหายใจ
Breathing
ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ ผู้บาดเจ็บควรได้รับออกซิเจนผ่านหน้ากาก (reservoir face mask) ที่เหมาะสมกับหน้าพอดีด้วย flow rate 11 L/min
Circulation
การห้ามเลือดเป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บโดยทําร่วมกับการให้สารน้ําทดแทน
การประเมินสภาพร่างกายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด(Secondary survey)
History
Past illness/ Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Event/ Environment related to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร รุนแรงเพียงใด สถานการณืสิ่งแวดล้อมขณะเกิดเหตุเป็นอย่างไร
Blunttrauma
อุบัติเหตุจราจร พลัดตกจากที่สูง
Penetrating trauma
เกิดจากอาวุธปืน มีด
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
Physical Examination
Cervical spine and Neck ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวทุกรายที่มีการบาดเจ็บศีรษะควรคํานึงถึง cervical spine injury พยาบาลจะใส่ Collar
Chest การตรวจจะเริ่มจากการมองหารอยช้ำ รอยยุบคลําดูว่ามี Crepitus หรือเจ็บที่จุดใด
Facialควรคลํากระดูกใบหน้าให้ทั่วเพื่อหา deformity ที่อาจบ่งบอกfacial fracture
Abdomen ผู้ป่วยที่บาดเจ็บและเกิดภาวะ Shock ให้สงสัยการบาดเจ็บในช่องท้องและมีการเสียเลือดเกิดขึ้น
Headการตรวจหนังศีรษะให้ใช้มือคลําให้ทั่วหนังศีรษะเพื่อหาบาดแผล
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessmentการบาดเจ็บแขนขาจะประเมินบาดแผล การหักงอ บวมผิดรูป ประเมินจุดที่เจ็บ การเคลื่อนไหว คลํา Crepitus
Pelvic fracture จะตรวจพบ Ecchymosis บริเวณ Iliac wing, Pubis, Labia หรือ Scrotum และเมื่อตรวจ Pelvic compression ผู้ป่วยจะมี pain on palpation และมี sign of unstability
Neurological system เป็นการตรวจระบบประสาทและสมองอย่างละเอียด ประเมิน motor, sensory และต้อง Reevaluationระดับความรู้สึกตัว pupil size Glasgow coma score
Reevaluation ในระยะแรกที่ดูแลผู้ป่วยที่บาดเจ็บ ควรมีการประเมินร่างกายซ้ำเป็นระยะๆ เพื่อประเมินหาการบาดเจ็บที่อาจตรวจไม่พบในระยะแรก และเป็นการติดตามการเปลี่ยนแปลงอาการ
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น
(Primary Survey)
Breathing and Ventilation
ปัญหาการหายใจที่พบบ่อยในการทํา primary survey
Open pneumothorax
Hemothorax
Flail chest with pulmonary contusion
ยังมีปัญหาเรื่อง Hypovolemic shock
tension pneumothorax
ประเมิน
2.ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
3.คลํา การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
1.การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
4.ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
Circulation and Hemorrhage control
ประเมิน
ผิวหนัง
cyanosis
จะมีผิวหนังเย็น ชื้น เหงื่อออกมาก
อาการทางระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
จะเริ่มมีอาการซึม เชื่องช้า สับสน
บางราบมีอาการเอะอะ และสุดท้ายจะหมดสติ
การตอบสนองของรูม่านตา (pupils)
Glasgow coma scale
ระบบทางเดินอาหาร
จะกระหายน้ํา น้ําลายน้อยลง
ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน
ลําไส้บวม และ ไม่ได้ยิน bowel sound
หัวใจและหลอดเลือด
Pulse จะพบชีพจรเบา เร็ว
Capillary filling time จะพบนานกว่า 1-2 วินาที
Central venous pressure เท่ากับ 7-8 cm.H2O
ระบบหายใจ
จะพบการหายใจเร็ว และไม่สม่ำเสมอ
ระบบทางเดินปสสาวะ
ะยะแรกปสสาวะจะลดลงเหลือ 30-50 ml./hr. และ 40 ml./hr.
เมื่อเกิดภาวะไตวายปัสสาวะจะออกน้อยกว่า 20 ml./hr.
ภาวะกรดด่างของร่างกาย
หายใจแบบKussmaual
จะมีอาการซึม อ่อนเพลีย งุนงง สับสน ไม่รู้สึกตัว
5.Exposure / Environment control
ผู้ป่วยที่บาดเจ็บหนักอาจใช้กรรไกรในการตัดเสื้อและกางเกงออกเพื่อจะได้ตรวจร่างกายอย่างถูกต้อง ขณะตรวจในห้องควรจะอบอุ่น เพื่อป้องกันภาวะ Hypothermia
ต้องทําการพลิกตะแคงตัวผู้บาดเจ็บแบบท่อนซุง (Log roll)
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหนัก ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆ
Airway maintenance with cervical spine protection
เริ่มต้นจากการประเมิน Airway เพื่อหาอาการที่เกิดจากทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction) ควรรวมไปถึงการดูดเสมหะ
การแตกหักของกระดูกใบหน้า กราม
การแตกของหลอดลมหรือกล่องเสียง ลิ้นตก
การหาสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
เลือดออกในช่องปากและทางเดินหายใจส่วนบน
การบวมของ soft tissueในคอ
สิ่งแปลกปลอม ฟัน เศษอาหารที่อาเจียน
อาการที่เกิดจากการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน
ลายมือเท้าซีดเขียว
หายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหายใจช่วยมากกว่าปกติ
เปลือกตาซีด
ผู้ป่วยที่สามารถพูดโต้ตอบและสามารถให้ประวัติได้บ่งว่าผู้ป่วยไม่มีปัญหาเรื่องการอุดกั้นทางเดินหายใจ
หายใจเสียงดัง
restless จากภาวะ Hypoxia
4.Disability: Neurologic Status
ประเมินจากAVPU Scale
V Voice/verbal stimuli
ผู้บาดเจ็บสามารถตอบสนองต่อเสียงเรียกได้
P Painful stimuli
ผู้บาดเจ็บตอบสนองเมื่อกระตุ้นด้วยความปวด
A Alert
บาดเจ็บรู้สึกตัวดี สามารถพูดโตhตอบหรือทําตามคําสั่งได้
U Unresponsive
ผู้บาดเจ็บไม่มีปฏิกิริยาตอบสนองเลย
การรักษาผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บภายหลังได้รับการช่วยเหลือขั้นต้นแล้ว
(Definitive care)
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทํา secondary survey เรียบร้อยแล้ว เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง เป็นการรักษาจําเพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การผ่าตัดเพื่อแก้ไขภาวะฉุกเฉินต่างๆ
Intracranial hematoma
Intra-abdominal bleeding
multiple organ injury
นางสาวพัชรีวรรณ ใจมา
6101210323 sec.B เลขที่14