Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาด้วยไฟฟ้า Electroconvulsive Therapy (ECT), นางสาวปณิตา โสมาบุตร…
การรักษาด้วยไฟฟ้า
Electroconvulsive Therapy (ECT)
แนวคิดการบำบัดรักษาด้วยไฟฟ้า
• จัดอยู่ในกลุ่มSomatic/organic therapyทำให้เกิดการชักชนิดGeneralized หรือ Grandmal seizure หรือ Tonic - Clonic Convulsion
เชื่อว่ากระแสไฟฟ้าที่ผ่านเข้าไปในสมองจะไปปรับระดับสารสื่อประสาทในสมองให้เป็นปกติอีกครั้ง
กลไกการออกฤทธิ์ของการรักษาด้วยไฟฟ้า
• ทำให้ผู้ป่วยมี seizure threshold สูงขึ้น
•เชื่อว่า ECT. มีผลในการรักษาไปทำให้เกิดสมดุลของระบบสื่อนำประสาททั้งในระดับ Presyneptic และPostsyneptic และยังมีฤทธิ์คล้ายAnticonvulsant จากการทำ ECT. ซ้ำ
ประเภทของการรักษาด้วยไฟฟ้า •แบ่งตามการให้ยาระงับความรู้สึก
Classical Electroconvulsive Therapy หรือ unmodified Electroconvulsive Therapy หรือ non-modified Electroconvulsive Therapy
Modified Electroconvulsive Therapy
ข้อบ่งชี้และข้อห้ามใช้การบำบัดด้วยไฟฟ้า
ข้อห้าม
มีเนื้องอกในกะโหลกศีรษะ
มีความดันโลหิตสูง
มีโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
วัณโรคที่มีอาการรุนแรง
ติดเชื้อที่มีไข้สูง
มีปัญหากระดูก ข้อต่อ
ข้อบ่งชี้
Mood disorder/Affective disorders ชนิด Major depression และ Bipolar disorder
ซึมเศร้าทุกชนิดเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย
Catatonic Schizophrenia
อาการผิดปกติทางจิตที่รักษาด้วยยาไม่ได้ผล/ได้ยาแล้วเกิดNMS
อุปกรณ์การบำบัดด้วยไฟฟ้า
• เครื่อง ECT กระแสสลับ 110 V. และอุปกรณ์
• แป้น Electrode
• Jelly หรือน้ำเกลือสำหรับทำแป้น Electrode
• เตียง (ไม่ใช่เตียงสปริง)
• ผ้ายาง (ใส่Pampers)
• ผ้าคลุมตัวผู้ป่วย
• mouth guard, mouth gag,ไม้กดลิ้นพันด้วยผ้าก๊อส
• Emergency set, suction
• ออกซิเจน เครื่อง vital sign monitor, Blood pressure cuff
• ฉากกั้นหรือทำในห้องมิดชิด
• หมอนทราย/หมอนผ้า
• ผ้าขนหนูแช่น้ำเย็นสำหรับเช็ดหน้าผู้ป่วยหลังการทำECT.
การเตรียมผู้ป่วย
1.แจ้งให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงข้อบ่งชี้ที่รักษาด้วยวิธีรักษาด้วยไฟฟ้า และขอความยินยอมในการให้การรักษาจากผู้ป่วยหรือญาติ
การตรวจร่างกาย CBC,
E’lyte, EKG, Chest X-Ray
NPO ก่อนทำ 6-8 ชั่วโมง
ปัสสาวะก่อนทำ
ขั้นตอนการรักษาด้วยไฟฟ้า
ตรวจความพร้อมผู้ป่วย ตรวจดูฟันปลอม
ทบทวนประวัติการรักษาด้วย ECT ก่อนหน้า
ติดอุปกรณ์monitor vital sign, O2sat
เปิดเส้นเลือดดeให้สารน้ำ
พัน blood pressure cuff ที่ข้อเท้า
ข้างใดข้างหนึ่งของผู้ป่วย
ให้ O2 แก่ผู้ป่วย
ให้ Propofol 0.5-1 mg/ kg. IV. เมื่อหลับ ฉีด succinylcholine 0.5-1 mg/kg. IV หลังจากmuscle relaxant ออกฤทธิ์เต็มที
ใส่ mouth guard
กดปุ่มเครื่อง ECT สังเกตุการชักจากการขยับร่างกาย (motor seizure) Plantar flexion ในช่วง tonic และนิ้วเท้ากระตุกในช่วง Clonic
9.สังเกตการชักจาก EEG (EEG seizure
การพยาบาล
• ขั้นตอนการเตรียมผู้ป่วย/อุปกรณ์ /ก่อนทe
เตรียมผู้ป่วยตามคู่มือปฏิบัติ(Protocol) ของโรงพยาบาล
เตรียมยาที่จะใช้ การท า modified ECT
เตรียมออกซิเจน, Emergency set
• ขั้นตอนระหว่างทำ
1.ตรวจสอบชื่อ - สกุล ใบยินยอมให้ถูกต้อง
2.ประเมินอาการทางกายทางจิต เพื่อเปรียบเทียบและประเมินผลการรักษา
3.จัดท่าให้เหมาะสม ปลอดภัย ป้องกันการบาดเจ็บของกระดูกละข้อต่อ
วัด vital sign , ติด monitor เครื่องมือต่างๆ
5.เริ่มให้ยาสลบ บันทึกอาการเปลี่ยนแปลง
6.ดูแลทางเดินหายใจ เตรียมช่วยหายใจ/แพทย์กดให้กระแสไฟฟ้า
7.สังเกตุลักษณะ/ระยะเวลาชัก/พร้อมบันทึกอาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
8.เฝ้าระวังอาการข้างเคียงที่เป็นอันตราย
9.รักษาภาวะสมดุลของ O2
Sat
10.เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
11.รักษาอุณหภูมิร่างกาย
12.ดูแลให้ผู้ป่วยฟื้นจากการระงับความรู้สึก
• ขั้นตอนหลังทำ
1.วัด vital sign, O2 Sat ระดับความรู้สึกตัว สังเกตุการหายใจ พร้อมบันทึกอาการ
เปลี่ยนแปลง
2.สังเกตุระดับความรู้สึกตัว พร้อมคอยเรียกให้ผู้ป่วยรู้สึกตัว
3.ไม่ผูกมัดโดยไม่จ าเป็น
4.คอยระวังอันตรายจากการบาดเจ็บของอวัยวะต่างๆ ของผู้ป่วย
5.ดูแลความสุขสบาย เช่น เช็ดหน้า หรือห่มผ้าให้
6.เคลื่อนย้ายผู้ป่วยกลับที่พัก
ผลข้างเคียงจากบำบัดด้วยไฟฟ้า
•Reversible adverse effect
Central nervous system
Headache nervous system
Memory loss
Prolong seizure
Postictal and interictal delirium
Cardiovascular system
Musculo skeleton system
•Irreversible adverse effect
1.Brain damage
Musculoskeletal injury
Mortality
4.Psychological reaction : Emotional trauma
นางสาวปณิตา โสมาบุตร เลขที่ 66 รหัส 61113301066 ชั้นปีที่ 3