Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด
Franco-German Model
(FGM)
บุคลากรผู้ให้บริการ/การดูแล
แพทย์ให้การดูแล โดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วยอาจนำ
เทคโนโลยีรวมไป ให้การดูแลในขั้นสูง
ปลายทาง
ลำเลียงผ้ปู่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
ปรัชญา/จุดประสงค์หลัก
Stay and Stabilize” ให้เวลานานในการดูแลอาการ
ในสถานที่เกิดเหตุ และนำการรักษาไปยังสถานที่เกิดเหต
แนวคิดการเชื่อมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งขององค์การสาธารณสุข
ปีเริ่มต้น
1970s
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
Ambulance, Helicopterและ Coastal ambulance
องค์การที่เกี่ยวข้อง
ภายใต้บริการจะเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพ
ค่าใช้จ่าย
ต่ำกว่า AAM
จำนวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการรับการรักษา ณ จุดเกิดเหตุ
ตัวอย่างประเทศ
เยอรมนี ฝรั่งเศส กรีซ
มอลต้า ออสเตรีย
Anglo-American Model
(AAM)
บุคลากรผู้ให้บริการ/การดูแล
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแลโดยมีแพทย์กำกับ
ปลายทาง
ลำเลียงผู้ปู่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
ปรัชญา/จุดประสงค์หลัก
“Scoop and run” เวลาสำหรับการประคับประคองอาการในสถานที่เกิดเหตุสั้นและนำผู้ป่วยส่งยังสถานพยาบาลให้เร็วที่สุด
ค่าใช้จ่าย
สูงกว่า FGM
ปีเริ่มต้น
1970s
องค์การที่เกี่ยวข้อง
ตำรวจ สถานีดับเพลิง
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
รถ Ambulance เป็นหลัก
แนวคิดการเชื่อมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งขององค์การความ
ปลอดภัยสาธารณะ
จำนวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการนำส่งไปยังโรงพยาบาล
ตัวอย่างประเทศ
สหราชอาณาจักรสหรัฐอเมริกา แคนาดา
นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
Definitive Care
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทำ secondary survey เรียบร้อยแล้วเพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรงเช่น
Intracranial hematoma, Intra-abdominal bleeding รวมทั้ง multiple organ injury
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
การกู้ชีพ (Resuscitation)
ABC
Breathing ผู้บาดเจ็บควรได้รับออกซิเจนผ่านหน้ากาก (reservoir face mask) flow rate 11 L/min
Circulation การห้ามเลือดโดยทำร่วมกับการให้สารน้ำทดแทน
Airway ภายหลังจากการประเมิน การทำ Definitive airway ในผู้บาดเจ็บที่มีปัญหาการหายใจ
Primary Survey
Circulation with hemorrhagic control
ผิวหนัง
ผิวหนังเย็น ชื้น เหงื่อออกมากcyanosis
septic shock ที่ผิวหนังจะอุ่น
หัวใจและหลอดเลือด
Blood pressure
Systolic BP น้อยกว่า 50mm.Hg. สมองจะขาดออกซิเจน
Systolic BP น้อยกว่า 60-70 mm.Hg. จำนวนเลือดที่ไปเลี้ยงสมองจะลดลง
Pulseพบชีพจรเบา เร็ว จากระบบ Sympathetic
Capillary filling time จะพบนานกว่า 1-2 วินาที
Central venous pressure เท่ากับ 7-8 cm.H2O
อาการทางระบบประสาท
การตอบสนองของรูม่านตา (pupils)
Glasgow
coma scale
ระบบหายใจ
การหายใจเร็ว และไม่สม่ำเสมอ จาก Acidosis respiration
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ภาวะไตวายปัสสาวะจะออกน้อยกว่า 20 ml./hr.
ระบบทางเดินอาหาร
กระหายน้ำ น้ำลายน้อยลง ท้องอืด
ภาวะกรดด่างของร่างกาย
ร่างกายจะเกิดการเผาผลาญแบบ anaerobic metabolism
เกิดภาวะacidosis metabolic
Disability (Neurologic Status)
เป็นการประเมินระบบประสาทต่อว่าสมองหรือไขสันหลัง
ได้รับบาดเจ็บหรือไม่
AVPU Scale
Voice/verbal stimuli
Painful stimuli
Alert
Unresponsive
การตรวจประเมินรูม่านตา
การขยายรูม่านตาที่ไม่เท่ากันข้างที่มีขนาดใหญ่ไม่มีปฏิกิริยต่อแสง แสดงถึงพยาธิสภาพเนื้อสมองด้านเดียวกับรูม่านตาที่ผิดปกติ
Breathing and ventilation
การประเมิน การช่วยหายใจและการระบายอากาศเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนอากาศเพื่อให้ได้ออกซิเจนและขับคาร์บอนไดออกไซด์
Exposure / environmental control
การพลิกตะแคงตัวแบบท่อนซุง (Log roll)
เมื่อทำการพลิกตะแคงตัวผู้ทำการตรวจร่างกายจะประเมินการได้รับบาดเจ็บของประสาทสันหลังคือการเกิด functional shut downมีภาวะ spinal shock เกิดขึ้น ผู้ตรวจจะไม่สามารถตรวจพบการทำงานของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส (sensory)ีเฟลกซ์และที่สำคัญจะไม่พบ bulbocarvernosus reflex
การตรวจ bulbocarvernosus reflex
Airway maintenance with cervical spine protection
เปิดทางเดินหายใจวิธี Jaw thrust method
เปิดทางเดินหายใจวิธีmodified jaw thrust
เปิดทางเดินหายใจวิธี Head tilt chin lift method
เปิดทางเดินหายใจวิธี Tripple airway maneuver
Secondary Survey
Physical Examination
Cervical spine and Neck
Chest
ดูการบาดเจ็บเช่น Contusion, Hematoma, Open pneumothorax
Facial
คลำกระดูกใบหน้าให้ทั่วเพื่อหา deformity ที่อาจบ่งบอก facial fracture
Head
ใช้มือคลำให้ทั่วหนังศีรษะเพื่อหาบาดแผล
Abdomen
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment
Pelvic fracture
Neurological system
History
Past illness/ Pregnancy
Last meal
Medication
Event/ Environment related to injury
Allergies
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
การซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสำคัญอย่างละเอียด ในเวลาที่รวดเร็ว
ทำการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยำ
การอุ้มยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากยานพาหนะไปยังห้องพยาบาล อย่างนุ่มนวลรวดเร็ว ปลอดภัย
ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงพยาบาลและภายในเขตการรับรองของกฎหมาย โดยคงไว้ซึ่งหน้าที่ของอวัยวะสำคัญชีวิต
ให้การช่วยฟื้นนคืนชีพอย่างถูกต้อง
มีการส่งต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก และภายนอกโรงพยาบาล เพื่อรับการรักษาในสถานพยาบาลอื่น ในระหว่างการส่งต่อผู้ป่วยพยาบาล จะต้องมีการเตรียมพร้อมในการช่วยเหลือผู้ป่วย
ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ ซึ่งจะเกิดความกลัวความวิตกกังวลต่อความเจ็บป่วยและมีความคาดหวังต่อการรักษาพยาบาล
มีการนัดหมายผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน หมายถึง ผู้ที่มีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ ที่มีความชำนาญเฉพาะทาง โดยใช้หลักและกระบวนการพยาบาลที่สมบูรณ์ เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
หมวดที่ 2ระยะเตรียมความ
พร้อม
การสื่อสารและการแบ่งปันข้อมูล
การให้การศึกษาและการเตรียมความ
พร้อม
การปฏิบัติตามหลักจริยธรรมกฎหมาย
และความรับผิดชอบ
การปฏิบัติตามหลักกฎหมาย
การปฏิบัติด้วยความรับผิดชอบ
การปฏิบัติตามหลักจริยธรรม
หมวดที่ 3ระยะรับมือ /ตอบสนองภาวะภัย
พิบัต
การดูแลบุคคลและครอบครัว
การประเมิน
การปฏิบัติตาม
แผน/การดำเนินงาน
การดูแลทางด้านจิตใจ
การดูแลชุมชน
การดูแลประชาชนกลุ่มเปราะบาง
หมวดที่ 1ระยะป้องกันหรือลดผลกระทบ /บรรเทาทุกข์
การลดความเสี่ยงการป้องกันโรคและ
การสร้างเสริมสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพ
การพัฒนาและวางแผนนโยบาย
การลดความเสี่ยง
และการป้องกันโรค
หมวดที่ 4ระยะพักฟื้น/ฟื้นคืนสภาพ
การฟื้นฟูสภาพของบุคคลครอบครัว และ
ชุมชน
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system)สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอองค์กร
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
เป็นแนวทางของระบบบริการสุขภาพที่ช่วยนำผู้ป่วยให้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างันเวลา และลดระยะเวลาการรักษาในผู้ป่วยกลุ่มอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน เพื่อให้ได้รับการรักษาเฉพาะทางที่มีศักยภาพสูงกว่า
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
Triage/ Specific triage/ Assessment
Activate system
EMS (accessibility)
Flow (purpose-process-performance)
Investigation
Care delivery
Monitoring: early warning signs & E-response
Risk management (general & clinical)
Co-ordination, Communication, Handover
Inter & Intra transportation
Evaluation, output, outcome
Improvement, Innovation, Integration