Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle…
บทที่ 5แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จําเป็นต้องดําเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที อาจเกิดจากภาวะต่างๆ
การเจ็บป่วยวิกฤต
การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทําให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
อุบัติเหตุ (Accident)
อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดหมายมาก่อน ทําให้เกิดการบาดเจ็บตายและการสูญเสียทรัพย์สินโดยที่เราไม่ต้องการ
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ผู้ที่ทีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชํานาญเฉพาะทาง โดยใช้หลักและกระบวนการพยาบาลที่สมบูรณ์เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต
ลักษณะทางคลินิก
1.ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
2.ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
3.เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
4.มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
5.คลําชีพจรไมได้ หรือชีพจรช้ากว่า 40หรือเร็วกว่า30 ครั้ง/นาที
6.อุณหภูมิของร่างกายต่ํากว่า35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
7.ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งู หรือสารพิษชนิดต่างๆ
8.ความดันโลหิตSystolicต่ํากว่า80มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130มม.ปรอท
9.หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า30ครั้งต่อนาที หายใจลําบากหรือหอบเหนื่อย
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาลพ.ศ.2552
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสําคัญของร่างกายให้คงไว้
ค้นหาสาเหตุและ/หรือปัญหาที่ทําให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดําเนินการแก้ไข
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ดําเนินการแก้ไขปัญหาที่กําลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
6.ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
ลักษณะผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง เช่น ผู้ป่วย Septic Shock หากไม่ได้รับการรักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในอัตราสูง
3.ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง เช่น ผู้ป่วย myocardialin farction ต้องการการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ เช่น ผู้ป่วยที่หมดสติ ผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา เช่น ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
2.กลุ่มอาการหนัก ต้องหามนอนหรือนั่งมาอาการแสดงยังคลุมเครือต้องใช้การตรวจอย่างละเอียด
3.กลุ่มอาการหนักมาก หรือสาหัสต้องการการรักษาโดยด่วนหรือช่วยชีวิตทันทีกลุ่มผู้ป่วยเสียชีวิต เป็นกลุ่มที่หมดหวังในการรักษา
1.กลุ่มอาการไม่รุนแรง หากผู้ป่วยเดินได้อาจถือว่าอาการไม่หนัก
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
2.การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต เช่น การทําแผล การใส่เฝือกชั่วคราวกระดูกที่หัก
3.การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เพื่อเป็นประโยชน์ในการรักษาต่อไป
1.เพื่อช่วยชีวิต เช่น ผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจ หรือหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน ต้องรีบช่วยหายใจโดยการผายปอด ด้วยวิธีการที่เหมาะสม
4.การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว ต้องรีบเคลื่อนย้ายนําส่งโรงพยาบาล เพื่อทําการรักษาต่อทันที
หลักในการพยาบาล
2.มีการซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสําคัญอย่างละเอียด ในเวลาที่รวดเร็ว
3.ทําการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยํา
1.มีหลักในการอุ้มยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากยานพาหนะไปยังห้องพยาบาล อย่างนุ่มนวลรวดเร็วปลอดภัย
4.ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล และภายในเขตการรับรองของกฎหมาย
5.ให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
6.มีการนัดหมายผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง
7.มีการส่งต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก และภายนอกโรงพยาบาล เพื่อรับการรักษาในสถานพยาบาลอื่น
8.ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ ซึ่งจะเกิดความกลัวความวิตกกังวลต่อความเจ็บป่วย และมีความคาดหวังต่อการรักษาพยาบาล จึงต้องอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงปัญหาการเจ็บป่วย การพยาบาลที่จะได้รับ และแนวทางการรักษาต่อเนื่อง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
ภัย (Hazard) หมายถึง เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
สาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster) หมายถึง ภัยที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทําของมนุษย์แล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต เกิดความสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สิน
สาธารณภัย ได้แก่ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัยภัย ภัยแล้ง
การก่อวินาศภัย ได้แก่ ก่อการร้าย กราดยิง วางระเบิด
4.ภัยสาธารณะ ประกอบด้วย
2.1 ภัยที่เกิดจากคนทํา ได้แก่ สาเคมีรั่วไหล รถชน ตึกถล่ม
2.2 ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ เชjน คลื่นยักษ์ ดินถล่ม โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้ํา การระบาดของศัตรูพืช เป็นต้น
ภัยทางอากาศ ได้แก่ ปล้นเครื่องบิน
อุบัติเหตุกลุ่มชน/อุบัติภัยหมู่
อุบัติภัยหมู่มีลักษณะสําคัญ ดังนี้
1.เกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยของประชาชนจํานวนมาก
2.มีการทําลายของทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม
3.ทรัพยากรที่มีอยู่ในภาวะปกติไม่เพียงพอที่จะนํามาใช้ควบคู่สถานการณ์
ระบบและกลไกปกติของสังคมถูกทําลายหรือไม่เพียงพอที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
อุบัติเหตุที่เกิดกับคนจํานวนมาก ได้รับการเจ็บป่วยจํานวนมาก เกินขีดความสามารถปกติที่โรงพยาบาลจะให้การรักษาพยาบาลได้
ประเภทของอุบัติภัยหมู่แบ่งตามขีดความสามารถของสถานพยาบาล
Mass casualtiesทั้งจํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลและทีมผู้รักษาผู้ป่วยที่มีโอกาสรอดชีวิตมากที่สุดโดยใช้เวลาและทรัพยากรน้อยที่สุดจะได้รับการรักษาก่อน
Multiple casualtiesทั้งจํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิต(life Threatening) จะได้รับการรักษาก่อน
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
3.การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response) ต้องมีการดําเนินการทันเมื่อเกิดภัย โดยยึดตามหลัก CSCATT
4.การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ต้องจัดให้มีระบบเฝ้าระวังภายใน 5 วันหลังภัยพิบัติ
2.การเตรียมความพร้อม (Preparedness) : การรองรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน เป็นระยะต่อเนื่องจากการบรรเทาภัย โดยการเตรียมคนให้พร้อม มีแผนที่ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีการฝึกอบรมความรู้และทักษะ
5.การบูรณะฟื้นฟู (Recovery) เปfนระยะสุดท้ายในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ซึ่งต้องดําเนินไปเรื่อยๆ จนกว่าทุกอย่างจะกลับสู่ภาวะปกติหรือใกล้เคียงกับปกติมากที่สุด
1.การบรรเทาภัย (Mitigation) : กิจกรรมต่าง ๆ ที่ดําเนินการเพื่อลดหรือกําจัดโอกาสในการเกิดหรือลดผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ ตาม Disaster paradigm
S –Safety and Security คือ การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A –Assess Hazards คือ การประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
I -Incident command คือ ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S –Support คือ การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
D –Detection คือ การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกําลังหรือไม่
T –Triage/Treatment คือ การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเปfนของผู้ป่วย
E –Evacuation คือ การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R –Recovery คือ การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์สาธารณภัย
1.มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากสาธารณภัย
2.ต้องนําความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติ
3.เป็นการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ
ป้องกันและลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย
มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัยจํานวนมากในขณะเกิดภัย
การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประสบภัยและญาติ
คุณสมบัติพยาบาลสําหรับจัดการสาธารณภัย
2.มีความรู้ด้านสาธารณภัย มีความสามารถในการประเมินสถานการณ์และคาดการณ์ถึงปัญหาสุขภาพที่จะเกิดจากสาธารณภัยชนิดต่างๆ
3.มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเป็นผู้นํา และสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
1.มีความรู้ทางการพยาบาลและมีประสบการณ์การปฏิบัติงานการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต และด้านการรักษาโรคเบื้องต้นได้
4.มีทักษะในการสื่อสาร และการบันทึกข้อมูลต่างๆได้อย่างถูกต้องครบถ้วนชัดเจน
5.มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อ (Rehabilitation& transfer)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
Resuscitation เป็นการช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤต
Secondary surveyเป็นการตรวจร่างกายอย่างละเอียดหลังจากผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตแล้ว
History
Past illness/ Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Event/ Environment related to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร รุนแรงเพียงใด สถานการณ์สิ่งแวดล้อมขณะเกิดเหตุเป็นอย่างไร
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
Airway maintenance with cervical spine protection
Breathing and Ventilation
Circulation and Hemorrhage control
Definitive care เป็นการรักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว