Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
บทบาทพยาบาลกับ Fast track
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
ต้องรีบช่วยหายใจโดยการผายปอด ด้วยวิธีการที่เหมาะสม และนวดหัวใจทันที
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว
แนวคิด
Anglo-American Model (AAM)
Franco-German Model (FGM)
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาล
ผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาล พ.ศ. 2552
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสำคัญของร่างกายให้คงไว้
ค้นหาสาเหตุและปัญหาที่ทำให้เกิดภาวะฉุกเฉิน
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่กำลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
แนวทางปฏิบัติในระบบทางด่วน (Fast track)
สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
หลักการ
จัดทำรายการตรวจสอบ (check list) สำหรับการลงข้อมูล
ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถ
จัดทำแนวปฏิบัติ ลำดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ำเวลาเป็นสำคัญ
จัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย
กำหนด clinical indicator
การจัดทำควรเปfนทีมสหสาขาวิชาชีพ ประกอบด้วยแพทย์ พยาบาลเจ้าหน้าที่ในส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องมาร่วมดำเนินการ
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
Care delivery
Monitoring: early warning signs & E-response
Investigation
Risk management (general & clinical)
Flow (purpose-process-performance)
Co-ordination, Communication, Handover
Activate system
Inter & Intra transportation
Triage/ Specific triage/ Assessment
Evaluation, output, outcome
EMS (accessibility)
Improvement, Innovation, Integration
Trauma life support
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น ประกอบด้วย
Secondary survey ตรวจร่างกายอย่างละเอียด
Definitive care รักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้น
Resuscitation ช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤต
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
การพยาบาลสาธารณภัย
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
การบรรเทาภัย (Mitigation)
หลักการบริหารจัดการในที่ เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
A – Assess Hazards
ประเมินสถานที่เกิดเหตุ
S – Support
เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากร
S – Safety and Security
ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
T – Triage/Treatment
คัดกรองและให้การรักษา
I - Incident command
การบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวม
T – Triage/Treatment
รอพยพผู้บาดเจ็บ
D – Detection
การประเมินสถานการณ์
R – Recovery
ฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาล
ในสถานการณ์สาธารณภัย
ต้องนำความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์ใช้
เป็นการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ
ป้องกันและลดความรุนแรง
มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัยจำนวนมากในขณะเกิดภัย
การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประสบภัยและญาติ
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากสาธารณภัย