Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิดหลักหลักของรูปแบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ประเทศไทยมีการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ด้วยรูปแบบ Anglo-American Model (AAM)
Anglo-American Model (AAM)
ปรัชญา: “Scoop and run” เวลาสําหรับการประคับประคอง อาการในสถานที่เกิดเหตุสั้น และนําผู้ป่วยส่งยังสถาน พยาบาลให้เร็วที่สุด
บุคลากรผู้ให้บริการ : ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแล โดยมีแพทย์กํากับ
ปลายทาง: ลำเลียงผู้ป่วยเข้าห้องฉุกเฉิน
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย: รถ Ambulance เป็นหลัก
ค่าใช้จ่าย: สูงกว่า FGM
ตัวอย่างประเทศ: สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย
Franco-German Model (FGM)
ปรัชญา: “Stay and Stabilize” ให้เวลานานในการดูแลอาการ ในสถานที่เกิด
เหตุและนําการ รักษาไปยังสถานที่เกิดเหตุ
บุคลากรผู้ให้บริการ: แพทย์ให้การดูแลโดยมีทีม เวชกิจฉุกเฉินช่วย อาจนํา เทคโนโลยีรวมไปให7การดูแล ในขั้นสูง
ปลายทาง: ลําเลียงผู้ป่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย: Ambulance, Helicopter และ Coastal ambulance
ค่าใช้จ่าย: ต่ำกว่า AAM
ตัวอย่างประเทศ: เยอรมนี ฝรั่งเศส กรีซ มอลต้า ออสเตรีย
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จําเป็นต้องดําเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที อาจเกิดจากภาวะต่างๆ เช่น การเกิดโรคในระบบต่างๆ ของร่างกาย การบาดเจ็บ การเกิด โรคติดต่อ และโรคติดเชื้อ
การเจ็บป่วยวิกฤต
“Critical”
จะนํามาใช้ในผู้ป่วยอาการเพียบหนัก มีอาการรุนแรง หรือขั้นฉุกเฉิน มีอันตราย
“Crisis”
นํามาใช้กับผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะที่มีสถานการณ์คับขัน เป็นจุดวิกฤตของการเป็นโรค ทําให้มี อาการดีขึ้น หรือตายได้ในทันทีผู้ป่วยในสภาวะนี้มีโอกาสของความเป็นความตายได้เท่ากัน
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ผู้ที่ทีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชํานาญ เฉพาะทาง โดยใช้หลักและกระบวนการพยาบาลที่สมบูรณ์เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต
ไม่รู้สึกตัวชักเป็นอัมพาต
หยุดหายใจหายใจช้ากว่า10ครั้งต่อนาทีหรือเร็วกว่า 30ครั้งต่อนาทีหายใจลําบากหรือหอบเหนื่อย
คลําชีพจรไม่ได้หรือชีพจรช้ากว่า40หรือเร็วกว่า30ครั้ง/นาที
ความดันโลหิตSystolicต่ำกว่า80มม.ปรอทหรือDiastolicสูงกว่า130มม.ปรอท
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
มือเท้าซีดเย็นเหงื่อออกมาก
อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่า35เซลเซียสหรือสูงกว่า40เซลเซียส
ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งูหรือสารพิษชนิดต่างๆ
ผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ เช่น ผู้ป่วยที่หมดสติ ผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลวเป็นต้นหากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยจะเสียชีวิตในอัตราสูง
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง เช่น ผู้ป่วยSeptic Shock
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง เช่น ผู้ป่วย myocardialin farction
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา