Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อม, นางสาวนภวรรณ ภาระตะวัตร รหัสนักศึกษา624N46…
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม (Environment) หมายถึง สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวมนุษย์ อาจเป็นสิ่งที่ เป็นรูปธรรม มองเห็นหรือสัมผัสได้
ลักษณะของการเกิดได้ 2 ประเภท
1 สิ่งแวดล้อมที่เกิดตามธรรมชาติ : สิ่งที่เกิดขึ้นเอง โดย ธรรมชาติ มีลักษณะเป็นรูปธรรม เช่น ดิน น้้า อากาศ ป่าไม้
2 สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น : สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อ ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ เช่น สิ่งก่อสร้าง อาหาร ที่อยู่อาศัย
องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมได้ 4 ประเภท
1 สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ : ดิน หิน น้้า อากาศ
2 สิ่งแวดล้อมด้านเคมี : สิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะเป็นสารเคมีที่ อาจอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ
3 สิ่งแวดล้อมด้านชีวภาพ : จุลินทรีย์ พืช สัตว์ มนุษย์
4 สิ่งแวดล้อมด้านสังคม : จารีตประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา กฎหมาย
อนามัยสิ่งแวดล้อม
มุ่งเน้นการป้องกันโรคและเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ สุขภาพโดยใช้วิธีการจัดการและควบคุมสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ทั้งด้าน กายภาพ เคมี ชีวภาพ และสังคม
1 การจัดหาน้้าสะอาดในการอุปโภค บริโภค
2 การควบคุมมลพิษทางอากาศ
3 การป้องกันอันตรายจากรังสี
4 การสุขาภิบาลของสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สวนสาธารณะ
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ
1 ได้รับเชื้อโรคหรือสิ่งที่ท้าให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ เช่น เชื้อโรค สารพิษ
2 ภูมิต้านทานโรคต่ําลง อันเนื่องมาจากสารพิษและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม
3 ได้รับเชื้อโรคหรือสารพิษที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกรรมพันธุ์
ของเสียและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
1 ของแข็ง เช่น กากสารพิษ ฝุ่นละออง
2 ของเหลว เช่น ไขมัน น้้ามัน
3 ก๊าช เช่น สารพิษ ก๊าซพิษ
4 พลังงานทางฟิสิกส์ เช่น ความร้อน แสงสว่าง
มลพิษทางน้ำ
น้้าเสียจากชุมชน
เกิดจากกิจกรรมการใช้น้าในชีวิตประจ้าวัน การช้าระร่างกาย การขับถ่าย
น้้าเสียจากอุตสาหกรรม
เกิดจากกระบวนการผลิตต่างๆ มักปน
น้้าเสียจากสถานที่ก้าจัดมูลฝอย
เกิดจากการน้ามูลฝอยไปกองทิ้งไว้ไม่ถูกวิธี
น้้าเสียจากเกษตรกรรม
มักปนเปื้อนด้วยมูลสัตว์และสารเคมีก้าจัดศัตรูพืช
มลพิษทางอากาศ
ฝุ่นละออง
ฝุ่นละออง ขนาดเล็กท้าให้เกิดการระคายเคืองและมีผลให้เกิดโรคใน ระบบทางเดินหายใจ
ก๊าซ NO3
มีผลต่อระบบทางเดินหายใจส่วนล่างทำให้ เกิดการระคายเคืองในถุงลมปอด ส่วนผลเรื้อรัง ท้าให้หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
ก๊าซ SO2
ทำให้ผู้สัมผัสมี อาการระคายเคืองตาและระคายระบบทางเดินหายใจส่วนบนอย่างรุนแรง
ก๊าซ CO
ทำให้ร่างกายเกิดภาวะขาดออกซิเจนและเสียชีวิตได้
ผลกระทบขยะและของเสียอันตราย
การแพร่กระจายของเชื้อโรคและสัตว์ที่เป็นพาหนะ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน
ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดมลพิษในอากาศ ขยะมูลฝอยที่มีการทับถมจะเกิดการ ย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ท้าให้เกิดก๊าซต่างๆที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
ก่อความรำคาญ ขยะมูลฝอยที่กองไว้ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็น มีแมลงมาอาศัยก่อความร้าคาญให้แก่ผู้ อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง
มลพิษทางดิน
ดินเป็นมลสารที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษ
เมื่อดินเหล่านี้ถูกพัดไปในอากาศหรือแหล่งน้้า จะทำให้อากาศหรือแหล่งน้้าเกิดการปนเปื้อนสาร มลพิษตามไปด้วย
ดินเป็นแหล่งรองรับสารพิษ
ดินท้าหน้าที่ดูดซับสารพิษหรือโลหะหนักจากอากาศ ทำให้สารพิษหรือโลหะลดความเป็นพิษลงหรือไม่เกิดสารใหม่ที่มีความเป็นพิษ
ดินเป็นพิษ
เป็นสภาวะที่ดินไม่สามารถทำหน้าที่รองรับของเสียและสารพิษต่างๆ โดยวิธีการดูดซับไว้ที่อนุภาคของดิน
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลชุมชนในด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
1 เป็นผู้ให้ความรู้และคำแนะนำ : เพื่อจัดสภาพแวดล้อมใน บ้านให้ถูกสุขลักษณะได้
2 เป็นผู้ให้คำปรึกษา : เพื่อวิธีการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
3 เป็นผู้ประสานงาน : จำเป็นต้องดำเนินงานร่วมกับบุคลากรหลายฝ่าย
4 เป็นผู้บริหารจัดการ : พยาบาลชุมชนที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้างาน ในระดับ ต่างๆ
5 เป็นผู้ดำเนินการวิจัย : การที่ได้ปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดกับผู้รับ บริการ ทำให้ทราบปัญหาสุขภาพประชาชนที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและ พฤติกรรมสุขภาพประชาชน
6 เป็นผู้นำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง : พยาบาลชุมชน ควรเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนและผู้รับบริการ โดยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
นางสาวนภวรรณ ภาระตะวัตร รหัสนักศึกษา624N46136