Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ได้รับยาทางจิตเวช, ่, นางสาวปณิตา โสมาบุตร…
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ได้รับยาทางจิตเวช
บทบาทหลัก
บทบาทการดูแลให้ได้รับยาอย่างถูกต้องและปลอดภัย
การประเมินสภาพผู้ป่วยประสิทธิผลของยาและอาการข้างเคียงอาจที่เกิดขึ้น
การวางแผนให้ผู้ป่วยได้รับยาที่ถูกต้องปลอดภัยตามหลัก R
ยาทางจิตเวช
*Antipsychotic Drugs
*Antidepressants (SSRIs, SNRIs)
*Antianxiety
*Mood stabilizing Drug
*Anticholinergic (Antiparkinson)
อาการหลักประกอบด้วยอาการหลัก 4 อาการ
*Positive symptom
*Negative symptom
*Cognitive
*Mood symptom
ชนิดและรูปแบบของยาทางจิตเวช
ยากินรูปแบบต่างกัน
-ยาที่เคลือบหนาๆ
-ยาที่ไม่เคลือบ
-ยาละลายในปาก
ยาฉีด
Long acting
-Short acting
ยากลุ่มเสี่ยง (High Alert Drugs)
1.ชนิดฉีด
Adrenaline
Calcium gluconate
Potassium chloride
2.ชนิดกิน
CloZapine
Lithium
Carbamazepin
Lamotrigine
Sodium valproate
Phenotoin
การเฝ้าระวังยากลุ่มเสี่ยง
*ติดสัญลักษณ์ให้ชัดเจน (ชื่อยาสีส้ม)
*ขึ้นชื่อบนกระดาน
*ติดหน้า Charge
*ติดซองยา
อาการข้างเคียงของ
Antipsychotic Drugs
Acute dystonia
ภายใน 24 ชม.แรก หรือ ภายในสัปดาห์แรก ถ้าเกินจากนี้ไม่ใช่
อาการ กล้ามเนื้อบิดเกร็งทันที ตาเหลือกคอบิด หลังแอ่นลิ้นแข็งพูดลำบาก กลืนลำบาก
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าอาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นในระยะแรกที่ได้รับยา
เกิดขึ้นชั่วคราวจะหายเมื่อได้ยาแก้ร่างกายจะค่อยๆปรับตัวเพื่อลดความกังวล
ให้การดูแลเรื่องการเคลื่อนย้ายเปลี่ยนท่า
ดูแลให้ผู้ป่วยสุขสบาย
Akathisia
เกิดอาการช่วง 2-3 wk. แรกของการรักษา ถ้าเกิน 1 เดือน ไม่เกิด
อาการ
กระวนกระวายใจผุดลุกนั่งเดินไปมาอยู่นี่ไม่ได้
แยกจากอาการ Agitation
เป็นมากอาจsuicide ได้เนื่องจากทุกข์ทรมานมา
การพยาบาล
ระวัง suicide
ระวังเรื่องอุบัติเหตุ
Psudopakinsonism
เกิดเมื่อใช้ยาแล้ว 5 – 30 วันแรกของการรักษา
อาการ
• กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง
• สั่นขณะพัก (สั่นท่อนบน)
• เคลื่อนไหวเชื่องช้า
• เดินไม่แกว่งแขน
• สีหน้าเรียบเฉย
• ตัวงอ หลังคุ้ม
การพยาบาล
*สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงหลังได้รับการรักษา
*ช่วยเหลือการเคลื่อนย้าย
*เฝ้าระวังอุบัติเหตุ
*ดูแลความสุขสบายทั่วไป
Tardive dykinesia
เกิดจากการรับประทานยาวนานมากกว่า 1 ปี
อาการ
ดูดปาก ขมุบขมิบปาก เคี้ยวปาก ขยับขากรรไกรไปมา มีลิ้นม้วนไปมาในปาก เอาลิ้นดุนแก้ม ขยับนิ้ว บีบมือ คอบิดเอียงไปมา(เป็นแล้วไม่หาย)ไม่มีอาการขณะหลับ
การพยาบาล
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง เป็นรุนแรงอาจหยุดยา หรือเปลี่ยนกลุ่มยา(รายงานแพทย์)
ดูแลให้สุขสบาย
ประเมินความรุนแรงระหว่างอาการแพ้กับอาการทางจิต รายงานแพทย์เปลี่ยนกลุ่มยา
Neuroleptic malignant syndrome (NMS)
มักเกิดในสัปดาห์แรกหรือหลังเพิ่มขนาดยาขณะรักษา
เป็นภาวะที่พบได้น้อย แต่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
อาการ
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง อย่างมาก
หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตไม่สม่ำเสมอ
เหงื่อออกมาก
ไข้ขึ้นสูง
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
serum creatinine สูง
ระดับเอนไซม์ CK, AST, ALT, LDH สูง
ซึมลง หมดสติ coma
การพยาบาล
เช็ดตัวลดไข้
ประเมิน conscious n/s
ระวังอุบัติเหตุจากการตกเตียง
ให้การพยาบาลการอาการและการรักษาของแพทย์
ดูแลเรื่องสารน้ำสารอาหารไม่เพียงพอ
่
นางสาวปณิตา โสมาบุตร เลขที่ 66 รหัส 61113301066