Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม(Environment)
สิ่งแวดล้อมที่เกิดตามธรรมชาติ (Natural environment)
หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเอง โดย
ธรรมชาติ มีลักษณะเป็นรูปธรรม
เช่น ดิน น้้า อากาศ ป่าไม้ ภูเขา แม่น้้า สัตว์ป่า
สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-made environment)
หมายถึง สิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้นเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ หรือใช้จัดระเบียบการอยู่ร่วมกันในสังคม
สิ่งเป็นรูปธรรม เช่น สิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค
สิ่งที่มีลักษณะเป็นนามธรรม เช่น ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา และ กฎหมาย
องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ (Physical environment)
หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะเป็นรูปธรรม มีทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาต
เช่น ดิน หิน น้้า อากาศ ป่าไม้และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น อาคาร บ้านเรือน ถนน เสื้อผ้า เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
2.สิ่งแวดล้อมด้านเคมี (Chemical environment
หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะเป็นสารเคมี
ที่อาจอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ อาจเกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้น
สารเคมีอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ได้หากไม่มีการควบคุมหรือน้ามาใช้อย่างไม่เหมาะสม
สิ่งแวดล้อมด้านชีวภาพ (Biological environment)
หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่เป็นสิ่งมีชีวิต
เช่น จุลินทรีย์ พืช สัตว์ มนุษย์
สิ่งแวดล้อมด้านสังคม (Social environment)
เช่น จารีตประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา กฎหมาย
หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะเป็นนามธรรม ซึ่งมีความเกี่ยวข้องในการก้าหนดพฤติกรรมและการใช้ชีวิตในสังคมของมนุษย์
ทรัพยากร (Resources)เพื่อการใช้งานของมนุษย์
กลุ่มทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources)
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น (Inexhaustible natural resources)
1) ประเภทที่คงสภาพเดิมไม่เปลี่ยนแปลง (Immutable)
ได้แก่ พลังงานจาก ดวงอาทิตย์ ลม อากาศ ฝุ่น แม้กาลเวลาจะผ่านไปนานเท่าใดก็ตามสิ่งเหล่านี้ก็ยังคง ไม่เปลี่ยนแปลง
2) ประเภทที่มีการเปลี่ยนแปลง (Mutable)
เช่น การใช้ที่ดิน การใช้น้้าโดยวิธีการที่ไม่ถูกต้อง ท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านกายภาพ และด้านคุณภาพ เกิดน้าเน่าเสีย ดินขาดความอุดมสมบูรณ์
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเนื่อง มาจากการใช้ประโยชน์
อย่างผิดวิธี
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนได้ (renewable natural resources)
เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า มนุษย์ ความสมบูรณ์ของดิน คุณภาพของน้้า และทัศนียภาพที่สวยงาม ฯลฯ
ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ (Recyclable natural resources)
เช่น แร่ธาตุ ได้แก่ เหล็ก ทองแดง อะลูมิเนียม ดีบุกตะกั่ว แก้ว ฯลฯ
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้นไป (Exhausting natural resources)
ได้แก่ น้้ามันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน
กลุ่มทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-made Resources)
กลุ่มทรัพยากรชีวกายภาพ (Bio-physical Resources)
ทรัพยากรเพื่อการด้ารงชีวิตขั้น
พื้นฐานเช่น การเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การประมง การพลังงาน เขื่อน
ทรัพยากรที่เกิดขึ้นเพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิต เช่น การประปา การสื่อสารโทรคมนาคม การคมนาคม การท่องเที่ยว
กลุ่มทรัพยากรเศรษฐสังคม (Socio-economic resources)
คือกลุ่มทรัพยากรที่เป็นนามธรรม
มีคุณภาพชีวิตที่ดี เช่น วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ศาสนา กฎหมาย เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง การศึกษา การสาธารณสุข ฯลฯ
อนามัยสิ่งแวดล้อม
มิติของการให้บริการด้านการป้องกันโรค
1)ลดอัตราป่วยและอัตราตายของประชาชน เนื่องจากงานอนามัยสิ่งแวดล้อมจะ ควบคุมไม่ให้ปัจจัยก่อโรคด้านสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุให้เกิดโรค
2)สร้างเสริมสุขภาพของประชาชน ท้าให้ประชาชนได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี
3)สร้างสุนทรียภาพและความเจริญในชุมชน การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีจะท้าให้ชุมชนสะอาดเรียบร้อยสวยงาม ดูแล้วสบายตา สบายใจ รวมทั้งสามารถส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้
4) ส่งเสริมเศรษฐกิจของชุมชน การจัดสิ่งแวดล้อมที่ประสบผลส้าเร็จสามารถลดอัตราการป่วยและอัตราตายของประชาชนได้ จึงสามารถลดค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วย การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดียังสามารถตายของประชาชนได้ จึงสามารถลดค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วย การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดียังสามารถใช้น้ำมันในการเกษตรได้
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ
1.ได้รับเชื้อโรคหรือสิ่งที่ท้าให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ เช่น เชื้อโรค สารพิษ ที่อาจก่อให้ โรคร้ายแรงได้ทั้งในระยะเฉียบพลันและระยะเรื้อรัง
2.ได้รับเชื้อโรคหรือสารพิษที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกรรมพันธ
3.ภูมิต้านทานโรคต่ําลง อันเนื่องมาจากสารพิษและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม
4.เกิดความความเดือดร้อนร้าคาญและไม่สะดวกสบายจากการได้รับการ เกวนจากมลพิษ เช่น เสียงดัง กลิ่นเหม็น อากาศมีหมอกควัน
5.โรคต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในพื้นที่เกิดการระบาดขึ้น และแพร่กระจายไปได้อย่าง รวดเร็ว และทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น
6.เกิดผลเสียต่อสุขภาพจิตจากการอยู่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมเป็นมลภาวะ
ของเสียและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม(Waste and pollution)
1.ของแข็ง เช่น กากสารพิษ ฝุ่นละออง ขยะมูลฝอย เศษของเหลือใช้
2.ของเหลว เช่น ไขมัน น้้ามัน และน้้าเสีย
3.ก๊าช เช่น อากาศที่ปนเปื้อนด้วยควัน สารพิษ ก๊าซพิษ
4.พลังงานทางฟิสิกส์ เช่น ความร้อน แสงสว่างกัมมันตรังสี เสียง ความสั่นสะเทือน
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลชุมชนในด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรค โดยการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงหรือส่งเสริมให้สภาพแวดล้อมเอื้อต่อภาวะสุขภาพของประชาชน
1.เป็นผู้ให้ความรู้และคำแนะนำ(Educator)
2.เป็นผู้ให้คำปรึกษา(Counselor)
3.เป็นผู้ประสานงาน(Coordinator)
4.เป็นผู้บริหารจัดการ(Manager)
เป็นผู้ดำเนินการวิจัย(Researcher)
6.เป็นผู้นำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง(Leader or change agent)
Cary & Mood เพิ่มเติมบทบาทพยาบาลที่สำคัญ
1.Community involvement เป็นผู้ชักน้า กระตุ้น สนับสนุน หรือเป็นสื่อกลาง ประสานงาน จัดประชุม
2.Individual and population risk assessment เป็นผู้ประเมินความเสี่ยงของ บุคคลครอบครัว และชุมชน โดยใช้กระบวนการพยาบาลในการติดตามสอบสวนหา สาเหตุการเกิดโรคอันมีสาเหตุจากสิ่งแวดล้อม
3.Risk Communication เป็นผู้สื่อสารความเสี่ยง โดยการให้ข้อมูลหรือท้าความ เข้าใจแก่บุคคลครอบครัว และชุมชน ถึงปัจจัยอันตรายในสิ่งแวดล้อมที่มีต่อสุขภาพของ มนุษย์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าความเข้าใจที่ถูกต้อง ลดความหวาดกลัว และเพื่อ แก้ไขหรือปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัยมากขึ้นง
“Given the right information to the right people at the right time"