Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ,…
การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Biochemical Assessment
การประเมินทางเคมี
Amniocentesis
คือ การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซมทารกในครรภ์ที่ผิดปกติทําเมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
วิธีทำ
ทําโดยวิธีการปราศจากเชื้อ เจาะโดยใช้เข็มขนาดเล็กเจาะผ่านหน้าท้องและผนังมดลูกเข้าสู่ถุงน้ำคร่ำ มาส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะแทรกซ้อน
ปวดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อย
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
กลุ่มเลือด Rh negative มารดาสร้างภูมิต้านทานต่อเม็ดเลือดแดงของทารกในครรภ์
ควรสังเกต และมาพบแพทย์หากมีอาการเหล่านี้
ปวดเกร็งหน้าท้องมาก
ไข้ภายใน 2 สัปดาห์
มีนํ้าหรือเลือดออกทางช่องคลอด
• พักหลังจากการเจาะ1 วัน ควรงดการออกแรงมาก เช่น ยกของหนัก ออกกำลังกาย งดร่วมเพศ4-5วัน เลี่ยงเดินทางไกล
บทบาทของพยาบาล
• ดูแลให้ปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
• ดูแลจัดท่า วัดความดันโลหิต และฟังเสียงหัวใจของทารก
ภายหลังเจาะให้นอนหงาย กดแผลหลังจากเอาเข็มออก ประมาณ 1 นาทีและปิดแผลด้วยพลาสเตอร์
• จัดเตรียมอุปกรณ์ให้สะอาดปราศจากเชื้อ
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที จนครบ 1ชั่วโมง
วัด Vital signs 2 ครั้ง ห่างกัน 15 นาที
2. Amniotic fluid analysis
ดูความสมบูรณ์ของปอด วิธีที่นิยมทํา 3 วิธี
การตรวจหาค่า L/S ratio
(Lecithin Sphingomyelin Ratio)
การตรวจหาค่า L/S ratio เพื่อดู lung maturity เนื่องจากสาร lecithinเป็น Phospholipids ทําหน้าที่เป็น surfactant คลุมบริเวณ alveoli ส่วน sphingomyelin เป็ นไขมันในน้ำคร่ำ
สัดส่วนของ L/S จะเท่าๆกัน จนกระทั่ง 30 wks หลังจากนั้นsphingomyelin จะเริ่มคงที่ ขณะที่lecithin จะเพิ่มขึ้น
ค่าปกติของ L/S rotio
26 สัปดาห์ แรกของการตั้งครรภ์ ค่า S > L
อายุครรภ์ 26-34 สัปดาห์ ค่า L / S ratio = 1:1
อายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์ ค่า L จะเพิ่มมากขึ้น ratio = 2:1
L / S ratio > 2 แสดงว่าปอดทารกสมบูรณ์เต็มทีjโอกาสเกิดRDSต่ำ
3. Shake Test
เป็นการทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกใน ครรภ์โดยใช้หลักการของความสามารถในการคง สภาพของฟองอากาศของสารลดแรงตึงผิวของ ปอด (Surfactant)
วิธีทำ
ใช้หลอด 5 หลอด ใส่นํ้าครํ่าจํานวน 1 cc , 0.75 cc , 0.5 cc , 0.25 cc และ 0.2 cc ตามลําดับแล้วเติม normal saline Solution ในหลอดที่ 2 , 3 , 4 และ 5 ทําให้ ส่วนผสมเป็น 1 cc ทุกหลอดแล้วเติม Ethanol 95 % ทุกหลอดเขย่านาน 15 วินาทีทิ้งไว้นาน 15 นาที
ถ้าพบว่ามีฟองอากาศเกิดขึ้น 3 หลอดแรกแสดงว่าได้ผลบวก ปอดของทารกเจริญเต็มที่
ถ้าพบฟองอากาศ 2 หลอด แรก ได้ผลintermediate ปอดทารกยังไม่เจริญเต็มที่
ถ้าพบฟองอากาศเพียงหลอดเดียวหรือไม่พบเลย แสดงว่า ได้ผลลบ แสดงว่าการทดสอบปอดทารกยังเจริญไม่เต็มที่
ถ้าได้ลบ ควรตรวจหาค่า L/S ratio ต่อไป เพราะ อาจเป็นผลลบลวง false negative แต่ผลบวกลวง พบได้น้อย
จากการดูสีของน้ำคร่ำ มีเลือดปน ใสหรือขุ่น มีสีของขี้เทาปนหรือไม่
4. Fetoscopy
Fetoscopy คือ การส่องกล้องดูทารกในครรภ์ หรือเรียกว่า laparo amnioscope สอดเข้าไปในถุง นํ้าครํ่าโดยผ่านผนังหน้าท้องของหญิงตั้งครรภ์ เพื่อดูความผิดปกติของทารก
ขั้นตอนการทํา
• งดนํ้างดอาหารก่อนทํา 6-8 ชั่วโมง
• ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทํา
• ใช้ ultrasound เป็นตัวช่วยในการทำ
• ต้องตรวจสอบปริมาณนํ้าครํ่าหลังทํา
• หลังทํางดการทํางานหนัก 1 – 2 สัปดาห์เนื่องจากอาจมีอาการปวดท้อง
• ภาวะแทรกซ้อน แท้งบุตร 12 % เลือดออกทางช่องคลอด ติดเชื้อนํ้าครํ่ารั่วอย่างรุนแรงเลือดแม่กับเลือดลูกปนกัน
3. Alpha fetoprotein (AFP)
AFP เป็นการตรวจเลือดมารดา ดูค่าโปรตีนที่สร้างมา จากรก ใช้ค่านี้ในการตรวจสอบความผิดปกติของรก และเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องกับรก (ระยะเวลาในการตรวจ 16-18 wks.)
ค่าปกติAFP 2.0 – 2.5 MOM (Multiple of median)
ค่า AFP สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 15 ของการตั้ง ครรภ์ แสดงว่าทารกมีความผิดปกติของ open neural tube เช่น anencephaly myelomeningocele , Spinabifida, congenital nephrosis, esophageal atresia, Turner’s syndrome หรือทารกตายในครรภ์
ค่า AFP ตํ่า สัมพันธ์กับ
Down’ syndrome
CVS (Chorionic villous sampling) คือ การดูด เอาตัวอย่างของรกเด็กมาตรวจหาความผิดปกติ ของโครโมโซมทําช่วง 10-13 wks. ไม่ควรทํา ก่อนอายุครรภ์ 10 สัปดาห์เพราะเพิ่มอัตราการเกิดทารกพิการแบบ limb reduction defect
cordocentesisการเจาะดูดเลือดจากหลอดเลือดสายสะดือ โดยทั่วไปเจาะจากหลอดเลือดดํา ช่วงขณะอายุครรภ์ 18 สัปดาห์
นางสาวพัณณิตา แก้วพัฒน์ เลขที่ 42