Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle…
บทที่ 5 แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
บทบาทพยาบาลกับ Fast track
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
เพื่อช่วยชีวิต
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เพื่อเป็นประโยชน์ในการรักษาต่อไป
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว ต้องรีบเคลื่อนย้ายนำส่งโรงพยาบาล
เพื่อทำการรักษาต่อทันที
Trauma life support
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
เพื่อให้ได้ใช้แหล่งประโยชน์ที่เหมาะสมและคุ้มค่า ลดอัตราการเสียชีวิตที่ป้องกันได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การเข้าถึงช่องทางสำหรับการติดต่อในการแจ้ง
เมื่อมีเหตุเกิดขึ้น ทุกพื้นที่ต้องสามารถเข้าถึงระบบหรือช่องทางนี้ได้
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การจัดให้มีการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ
จุดเกิดเหตุโดยมีบุคลากรที่เป็นบุคลากรที่ได้รับการอบรมให้ความรู้ความสามารถในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การช่วยฟื้นคืนชีพ
โดยต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของ
สิ่งแวดล้อมเป็นอันดับแรก (scene safety)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การดูแลรักษาในโรงพยาบาลตั้งแต่การ
คัดแยก
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (Rehabilitation & transfer)
การดูแลต่อเนื่องในรายที่พบ
ปัญหาหรือต้องได้รับการฟื้นฟูเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
เรียงลำดับความสำคัญของการบาดเจ็บ
และภาวะคุกคามแก่ชีวิตให้ดี
Primary survey: ขั้นตอนและวิธีการ
Airway maintenance with cervical spine protection
เริ่มต้นจากการประเมิน Airway เพื่อหาอาการที่เกิดจากทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction)
ควรรวมไปถึงการดูดเสมหะ การหาสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
กรณีผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับอุบัติเหตุให้
ทำการเปิดทางเดินหายใจด้วยวิธี jaw-thrust maneuver
Breathing and Ventilation
เป็นการประเมิน การช่วยหายใจและการระบายอากาศเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนอากาศ เพื่อให้ได้
ออกซิเจนและขับคาร์บอนไดออกไซด์
Circulation and Hemorrhage control
เป็นการประเมินในระบบไหลเวียนและการห้ามเลือด โดยประเมินจากสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว
สีผิว อุณหภูมิ รวมถึงปริมาณเลือดที่ออกจากบาดแผล
Disability: Neurologic Status
เป็นการประเมินระบบประสาทต่อสมองหรือไขสันหลังได้รับบาดเจ็บ
Exposure / Environment control
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหนัก ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆ อื่นๆ ในผู้ป่วยที่
บาดเจ็บหนักอาจใช้กรรไกรในการตัดเสื้อและกางเกงออกเพื่อจะได้ตรวจร่างกายอย่างถูกต้อง
Resuscitation
การช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตที่อาจทำให้เสียชีวิตได้
Secondary survey
การตรวจร่างกายอย่างละเอียดหลังจากผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตแล้ว
Definitive care
การรักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว
การกู้ชีพ (Resuscitation)
การแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตหรือที่เป็นอันตรายเร่งด่วน โดยการกู้ชีพจะทำหลังจากการประเมิน
เป็นลำดับของ ABC
Airway
ในผู้บาดเจ็บที่มีปัญหาการหายใจ
สามารถรักษาได้โดยการใส่ท่อช่วยหายใจ และควรกระทำแต่เริ่มต้นหลังจากที่ช่วยหายใจด้วยออกซิเจน
Breathing
ผู้บาดเจ็บควรได้รับ
ออกซิเจนผ่านหน้ากาก (reservoir face mask)
Circulation
เมื่อ
ทำการเปิดเส้นเลือดแล้วควรเก็บเลือดส่งตรวจเพื่อช่วยในการประเมินความผิดปกติที่เกิดขึ้น การให้สารน้ำใน
ปริมาณมากอาจไม่ได้ทดแทนการห้ามเลือดได
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน จำเป็นต้องดำเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที
การเจ็บป่วยวิกฤต
Critical care
ผู้ป่วยอาการเพียบหนัก มีอาการรุนแรง หรือขั้นฉุกเฉิน มีอันตราย
เพื่อดำรงรักษาชีวิต มุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏใน
ครั้งแรก และการป้องกันไม่ให้เข้าสู่สถานการณ์คับขัน
Crisis care
เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยการรักษา จึงมุ่งเน้นแก้ไขอาการ ที่ปรากฏอันตราย โดยเฉพาะระบบของร่างกายที่มี
การล้มเหลว
ผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะที่มีสถานการณ์คับขัน เป็นจุดวิกฤตของการเป็นโรค ทำให้มีอาการดีขึ้น หรือตายได้ในทันที
อุบัติเหตุ (Accident)
ทำให้เกิดการบาดเจ็บตาย
และการสูญเสียทรัพย์สินโดยที่เราไม่ต้องการ
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ผู้ที่ทีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชำนาญเฉพาะทาง
หยุดหายใจ หายใจช7ากว;า 10 ครั้งต;อนาที หรือเร็วกว;า 30 ครั้งต;อนาท
คลำชีพจรไม;ได7 หรือชีพจรช7ากว;า 40 หรือเร็วกว;า 30 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต Systolic ต่ำกว;า 80 มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว;า 130 มม.ปรอท
อุณหภูมิของร;างกายต่ำกว;า 35 เซลเซียส หรือสูงกว;า 40 เซลเซียส
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การบรรเทาภัย (Mitigation)
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ดำเนินการเพื่อลดหรือกำจัดโอกาสในการเกิดหรือลดผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การรองรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน เป็นระยะต่อเนื่องจากการ
บรรเทาภัย โดยการเตรียมคนให้พร้อม มีแผนที่ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
ต้องมีการดำเนินการทันเมื่อเกิดภัย
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
ต้องจัดให้มีระบบเฝ้าระวังภายใน 5 วันหลังภัย
พิบัติ
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
เน้นให้มีระบบเฝ้า
ระวังโรคติดต่อและส่งมอบภารกิจให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การฟื้นฟูทางด้านจิตใจของผู้ประสบภัยและ
ครอบครัว การฟื้นฟูทางด้านจิตใจของผู้ประสบภัยและ
ครอบครัว