Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย, นาย จิรวัฒน์…
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด โมเดลที่ถูกนำมาอ้างอิงการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในประเทศที่พัฒนาแล้ว
Anglo-American Model (AAM)
ปีเริ่มต้น1970s
ปรัชญา/จุดประสงค์หลัก
“Scoop and run”
นำผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
ปลายทาง
ลำเลียงผ้ปู่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
แนวคิดการเชื่อมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเปfนส่วนหนึ่งขององค์การความปลอดภัยสาธารณะ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
รถ Ambulance เป็นหลัก
ใช้ Aero-medical หรือ Coastal ambulance
บุคลากรผู้ให้บริการ/การดูแล
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแล
โดยมีแพทย์กำกับ
องค์การที่เกี่ยวข้อง
องค์การที่เกี่ยวข้องการบริการความปลอดภัยของสาธารณะ เช่น ตำรวจ สถานีดับเพลิง
ค่าใช้จ่าย สูงกว่า FGM
จำนวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการนำส่งไปยังโรงพยาบาล
เพียงจำนวนน้อยที่ได้รับ การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
ตัวอย่างประเทศ
สหราชอาณาจักร
สหรัฐอเมริกา แคนาดา
นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย
Franco-German Model (FGM)
ปีเริ่มต้น1970
ปรัชญา/จุดประสงค์หลัก
Stay and Stabilize
นำบริการโรงพยาบาลมาหาผู้ป่วย
บุคลากรผู้ให้บริการ/การดูแล
แพทย์ให้การดูแลโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วยอาจนำเทคโนโลยีรวมไปให้การดูแลในขั้นสูง
ปลายทาง
ลำเลียงผ้ปู่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
แนวคิดการเชื่อมต่อองค์กร
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเปfน
ส่วนหนึ่งขององค์การสาธารณสุข
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
Ambulance, Helicopter
และ Coastal ambulance
องค์การที่เกี่ยวข้อง
ภายใต้บริการจะเป็นส่วนหนึ่ง
ของระบบสุขภาพ
ค่าใช้จ่าย ต่ำกว่า AAM
จำนวนผู้ป่วย
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการรับการรักษา ณ จุดเกิดเหต
เพียงจำนวนน้อยที่นำส่งโรงพยาบาล
ตัวอย่างประเทศ
เยอรมนี ฝรั่งเศส กรีซ มอลต้า ออสเตรีย
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหันจำเป็นต้องดำเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที
การเจ็บป่วยวิกฤต
Critical
จะนำมาใช้ในผู้ป่วยอาการเพียบหนัก มีอาการรุนแรง หรือขั้นฉุกเฉิน มีอันตราย
เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยการรักษา จึงมุ่งเน้นแก้ไขอาการ
ที่ปรากฏอันตราย
เพื่อแก้ไขภาวะล้มเหลว หรือรักษา
สภาพการทำงานของระบบนั้น
Crisis
นำมาใช้กับผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะที่มีสถานการณ์คับขัน เป็นจุดวิกฤตของการเป็นโรค ทำให้มี
อาการดีขึ้น หรือตายได้ในทันที
เพื่อดำรงรักษาชีวิต มุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏในครั้งแรก
การป้องกันไม่ให้เข้าสู่สถานการณ์คับ
ขัน Crisisในการประคับประคองให้ความสำคัญกับ
ทุกระบบไม่ให้นำสู่สภาวะที่เป็นปัญหาต่อไป
การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
อุบัติเหตุ (Accident)
อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดหมายมาก่อน ทำให้เกิดการบาดเจ็บตายและการสูญเสียทรัพย์สินโดยที่เราไม่ต้องการ
แบ่งตามคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติเพื่อประโยชน์ในการป้องกันรักษา
อุบัติภัยจากการจราจร (Traffic Accident)
อุบัติภัยภายในบ้าน (Home or Domestic Accident)
อุบัติภัยจากการทำงาน (Occupational Accident)
อุบัติภัยในสาธารณสถาน (Public Accident)
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ผู้ที่ทีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชำนาญเฉพาะทาง
ลักษณะทางคลินิก
ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า 30 ครั้งต่อนาที หายใจลำบากหรือหอบ เหนื่อย
คลำชีพจรไม่ได้ หรือชีพจรช้ากว่า 40 หรือเร็วกว่า 30 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต Systolic ต่ำกว่า 80 มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130 มม.ปรอท
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่า 35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งู หรือสารพิษชนิดต่างๆ
ผู้ป่วยวิกฤตมีลักษณะ
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ เช่น ผู้ป่วยที่หมดสติ ผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลวเป็นต้น หากไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยจะเสียชีวิตในอัตราสูง
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง เช่น ผู้ป่วยSeptic Shock หากไม่ได้รับการรักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในอัตราสูง
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง เช่น ผู้ป่วย myocardialin farction ต้องการการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา เช่น ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
กลุ่มอาการไม่รุนแรง หากผู้ป่วยเดินได้อาจถือว่าอาการไม่หนัก
กลุ่มอาการหนัก ต้องหามนอนหรือนั่งมาอาการแสดงยังคลุมเครือต้องใช้การตรวจอย่างละเอียด
กลุ่มอาการหนักมาก หรือสาหัสต้องการการรักษาโดยด่วนหรือช่วยชีวิตทันทีกลุ่มผู้ป่วยเสียชีวิต
เป็นกลุ่มที่หมดหวังในการรักษา
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
เพื่อช่วยชีวิต
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เพื่อเปfนประโยชน์ในการรักษาต่อไป
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว ต้องรีบเคลื่อนย้ายนำส่งโรงพยาบาล
เพื่อทำการรักษาต่อทันที พร้อมทั้งข้อมูลผู้ป่วย
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาล พ.ศ. 2552
1.ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่กำลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
2.ค้นหาสาเหตุและหรือปัญหาที่ทำให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดำเนินการแก้ไข
3.ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
4.รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสำคัญของร่างกายให้คงไว้
5.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
6.ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
การพยาบาลสาธารณภัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาธารณภัย / ภัยพิบัติ
ภัย (Hazard)
เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
สาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
ภัยที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทำของมนุษย์แล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต เกิดความสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สิน สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน
สาธารณภัย
อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัยภัย ภัยแล้ง
ภัยสาธารณะ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น คลื่นยักษ์ ดินถล่ม โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้ำ การระบาดของศัตรูพืช
ภัยที่เกิดจากคนทำ ได้แก่ สาเคมีรั่วไหล รถชน ตึกถล่ม
ภัยทางอากาศ
ปล้นเครื่องบิน
การก่อวินาศภัย
ก้อการร้าย กราดยิง วางระเบิด
ประเภทของภัยพิบัติ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Disaster) ได้แก่ เกิดแบบฉับพลัน และเกิดแบบค่อยเป็นค่อยไป
ภัยที่เกิดจากมนุษย์(Man-made Disaster) ได้แก่ เกิดอย่างจงใจและเกิดอย่างไม่จงใจ
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ความรุนแรงระดับที่ 1
สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสำนักงานสาธารณสุขในระดับอำเภอสามารถจัดการได้ตามลำพัง
ความรุนแรงระดับที่ 2
สาธารณภัยขนาดกลาง หน่วยงานสาธารณสุขระดับอำเภอไม่สามารถจัดการได้ ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในการจัดการเข้าระงับภัย
ความรุนแรงระดับที่ 3
สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่จำเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ
ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขระดับเขตเข้าควบคุมสถานการณ์และระดมทรัพยากรจากจังหวัดใกล้เคียงภายในเขตเข้าจัดการระงับภัย
หากไม่สามารถจัดการได้ให้รายงานโดยให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเข้าควบคุมสถานการณ
ความรุนเเรงระดับที่4
สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงยิ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรี ที่นายก ฯ มอบหมายให้เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้ดำเนินการควบคุมสถานการณ์กรณีที่ได้รับมอบหมายจากนายก ฯ หรือ รองนายก
อุบัติเหตุกลุ่มชน/อุบัติภัยหมู่ (MASS CASSUALTIES)
อุบัติเหตุที่เกิดกับคนจำนวนมาก ได้รับการเจ็บป่วยจำนวนมาก เกินขีดความสามารถปกติที่โรงพยาบาลจะให้การรักษาพยาบาลได้
ลักษณะสำคัญอุบัติภัยหมู่
เกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยของประชาชนจำนวนมาก
มีการทำลายของทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรที่มีอยู่ในภาวะปกติไม่เพียงพอที่จะนำมาใช้ควบคู่สถานการณ
ระบบและกลไกปกติของสังคมถูกทำลายหรือไม่เพียงพอที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ประเภทของอุบัติภัยหมู;แบ;งตามขีดความสามารถของสถานพยาบาล
Multiple casualties ทั้งจำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล
Mass casualties ทั้งจำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลและทีมผู้รักษ์ผู้ป่วยที่มีโอกาสรอดชีวิตมากที่ส
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การบรรเทาภัย (Mitigation)
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response) โดยยึดตามหลัก CSCATT
C – Command
C – Communication
T – Triage
T – Treatment
A – Assessment
M : Major incident : เป็นเหตุการณ์สาธารณภัยหรือไม่
E : Exact location : สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน
T : Type of accident : ประเภทของสาธารณภัย
H : Hazard : มีอันตราย หรือเกิดอันตรายอะไรบ้าง
A : Access : ข้อมูลการเดินทางเข้า-ออกจากที่เกิดเหตุ
N : Number of casualties: จำนวนและความรุนแรงของ
ผู้บาดเจ็บ
E : Emergency service : หน่วยฉุกเฉินไปถึงหรือยัง
S – Safety A, B, C (Personal, Scene, Survivors)
T – Transportation
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ต้องจัดให้มีระบบเฝ้าระวังภายใน 5 วันหลังภัยพิบัต
การบูรณะฟdeนฟู (Recovery) เปfนระยะสุดท้ายในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุ
และรักษาผู้บาดเจ็บตาม Disaster paradigm
D – Detection คือ การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกำลังหรือไม่
S – Support คือ การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
S – Safety and Security คือ การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards คือ การประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
I - Incident command คือ ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
T – Triage/Treatment คือ การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจำเป็นของผู้ป่วย
โดยการใช้หลักการของMASS Triage Model ( Move, Assess, Sort และ Send)
ID-me (Immediate)
Minimal
Delayed
Expectant
E – Evacuation คือ การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery คือ การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์สาธารณภัย
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากสาธารณภัย
ต้องนำความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติ ทั้งในระยะก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัย
เป็นการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ
ป้องกันและลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย
มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัยจำนวนมากในขณะเกินภัย
การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประสบภัยและญาติ
คุณสมบัติพยาบาลสำหรับจัดการสาธารณภัย
มีความรู้ทางการพยาบาลและมีประสบการณ์การปฏิบัติงานการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินและวิกฤต และด้านการรักษาโรคเบื้องต้นได้
มีความรู้ด้านสาธารณภัย มีความสามารถในการประเมินสถานการณ์และคาดการณ์ถึงปัญหาสุขภาพที่จะเกิดจากสาธารณภัยชนิดต่างๆ
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเป็นผู้นำ และสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มีทักษะในการสื่อสาร และการบันทึกข้อมูลต่างๆได้อย่างถูกต้องครบถ้วนชัดเจน
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การจัดระบบให์มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
EMS (accessibility)
Activate system
Investigation
Flow (purpose-process-performance)
Care delivery
Triage/ Specific triage/ Assessment
Monitoring: early warning signs & E-response
Risk management (general & clinical)
Co-ordination, Communication, Handover
Inter & Intra transportation
Evaluation, output, outcome
Improvement, Innovation, Integration
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การดูแลในระยะกอนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (Rehabilitation & transfer)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
Airway maintenance with cervical spine protection
เปิดทางเดินหายใจให้โล่งโดยใช้วิธีการ
Head-tilt Chin-lift
jaw-thrust maneuver
กรณีผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับอุบัติเหตุโดยต้องป้องกันการบาดเจ็บของ Cervical spine ตลอดเวลา
modified jaw thrust
Triple airway maneuver
ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บกระดูกสันหลังส่วนคอ (Cervical spine injury)
ใส่ Cervical collar หรือใช้หมอนทรายวางที่สองข้างของศีรษะไว้ตลอดเวลา
ผู้ช่วยทำ Manual in-line immobilization ไว้ตลอดเวลา
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเมื่อมีปัญหาทางเดินหายใจอุดกั้น
Endotracheal intubation
Endotracheal tube ทางจมูก
การเจาะคอจะพิจารณาเมื่อไม่
สามารถใส่ท่อช่วยหายใจทางปากและจมูกได้
Cricothyroidotomy
tracheotomy ไม่นิยมทำในภาวะฉุกเฉินเนื่องจากทำได้ช้า
Breathing and Ventilation
การช่วยหายใจและการระบายอากาศเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนอากาศ เพื่อให้ได้ออกซิเจนและขับคาร์บอนไดออกไซด์
การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
คลำ การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
Circulation and Hemorrhage control
อาการทางระบบประสาท
การตอบสนองของรูม่านตา (pupils)
Glasgow coma scale เพื่อประเมินการไหลเวียนเลือดไปสมอง ความผิดปกติของสมอง
ผิวหนัง
ผิวหนังเย็น ชื้น เหงื่อออกมาก cyanosis
septic shock ที่ผิวหนังจะอุ่น สีชมพูในระยะแรก
หัวใจและหลอดเลือด
Pulse จะพบชีพจรเบา เร็ว
Capillary filling time จะพบนานกว่า 1-2 วินาที
Central venous pressure เท่ากับ 7-8 cm.H2O
Blood pressureSystolic BP จะลดลงต่ำกว่า 90 mm.Hg. หรือต่ำกว่าปกติ 50 mm.Hg
ระบบหายใจ
จะพบการหายใจเร็ว และไม่สม่ำเสมอ จาก Acidosis respiration
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระยะแรกปัสสาวะจะลดลงเหลือ 30-50 ml./hr. และ 40 ml./hr
เมื่อเกิดภาวะไตวายปัสสาวะจะออกน้อยกว่า 20 ml./hr
ระบบทางเดินอาหาร
ผู้ป่วยจะกระหายน้ำ น้ำลายน้อยลง ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน ลำไส้บวม
ไม่ได้ยิน bowel sound
ภาวะกรดด่างของร่างกาย
anaerobic metabolism จนเกิดภาวะ
acidosis metabolic
ซึม ออนเพลีย งุนงง สับสน ไม่รู้สึกตัว หายใจแบบ Kussmaual
เมื่อพบผู้ป่วยเสียเลือดเสี่ยงเกิดภาวะ Shock หรืออยู่ในภาวะ Shock พยาบาลควรบริหารสารน้ำ ในระยะแรกควรพิจารณาให้สารน้ำกลุ่ม Crystalloid Ringer’s lactate หรือ Acetar
พิจารณาเปิดหลอเลือดดำใหญ่ cut down หรือ venesection ในกรณีที่ผู้ป่วยเสียเลือดมาก
Disability: Neurologic Status
Revision trauma scale
GCS + Respiratory score + Systolic BP score
Revision trauma scale ที่น้อยกว่า 11 ให้นำส่ง Trauma center
ประเมินจาก AVPU Scale
V=Voice/verbal stimuli
P=Painful stimuli
A=Alert
U=Unresponsive
CPOMR Scale
Level of conscious
pupil
motor
ocular movement
respiration
Revision trauma scale
Exposure / Environment control
พลิกตะแคงตัวผู้บาดเจ็บแบบท่อนซุง (Log roll) ที่ต้องอาศัยผู้ช่วย 3-4 คน
คนที่ 1 มีหน้าที่ในการทำ inline immobilization
ผู้ช่วยคนที่ 2-4 จะอยูบริเวณลำตัวและเชิงกรานเพื่อป้องกัน bending, rotation
ผู้ทำการตรวจร่างกายจะประเมินการได้รับบาดเจ็บของประสาทสันหลังคือการเกิด functional shut down
การทำงานของกล้ามเนื้อ
การรับรู้สัมผัส (sensory)
bulbocarvernosus reflex
บีบที่บริเวณหัวอวัยวะเพศชาย(glans penis)
กระตุ้น clitorisในเพศหญิง
Resuscitation
Airway
มีปัญหาการหายใจ สามารถรักษาไดโดยการใส่ท่อช่วยหายใจ
หากใส่ไม่ได้ อาจพิจารณาการใส่ท่อด้วยวิธีการทางศัลยกรรม
Breathing
ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ
ผู้บาดเจ็บควรได้รับออกซิเจนผ่านหน้ากาก (reservoir face mask)
flow rate 11 L/min เพื่อให้ได้ปริมาณออกซิเจนที่เพียงพอ
ติดตามระดับความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด
Circulation
การห้ามเลือดเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บโดยทำร่วมกับการให้สารน้ำทดแทน
การให้สารน้ำและเลือด
เปิดหลอดเลือดดำด้วยเข็มขนาดใหญ่และสั้น 2 เส่น เบอร์18,16,14
หลีกเลี่ยงแทงเส้นใต้ตำแหน่งของแขนขาที่ได้รับบาดเจ็บ
กรณีสงสัยว่ามีเลือดออกในช่องท้อง หลีกเลี่ยงการให้สารน้ำที่ขาเพราะจะทำให้สารน้ำไหลรั่วเข้าช่องท้อง
ให้สารน้ำที่เป็น Balance salt solution
หากอาการทรุดลง ไม่ตอบสนองพิจารณาการให้เลือดกรุ้ป โอ ซึ่งสามารถให้เลือดทุกหมู่ได้ตามแผนการรักษา
ไม่ควรให้เลือดร่วมกับ Lactated Ringer's solution, acetar สารน้ำดังกล่าวมีส่วนผสมของแคลเซียมเพราะจะทำให้เลือดอตกตะกอน
หลังได้รับสารน้ำหรือเลือดควรประเมินการตอบสนองต่อสารน้ำความดันโลหิตเพิ่มขึ้นปัสสาวะออกมากกว่า 0.5 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง ปลายมือปลายเท้าไม่ซีด
Secondary survey
History
Allergies
Last meal
Event/ Environment related to injury
Medication
Past illness/ Pregnancy
Blunt trauma
Penetrating trauma
Physical Examination
Facial
Cervical spine and Neck
Head
Chest
Abdomen
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment
Pelvic fracture
Neurological system
Reevaluation
Definitive care
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทำ secondary survey เรียบร้อยแล้ว
เป็นการรักษาจำพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การผ่าตัดเพื่อแก้ไขภาวะฉุกเฉินต่างๆ
Intracranial hematoma
Intra-abdominal bleeding
multiple organ injury
เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง
นาย จิรวัฒน์ ปันเบี้ยว รหัสนักศีกษา 6101210408 เลขที่ 17 sec B