Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Snake-bite, B6129422 นางสาวศศิธร ลาวกับเพ็ชร - Coggle Diagram
Snake-bite
การประเมิน Primary
-
2.Breathing : อัตราการหายใจ 14 bpm, O2 sat = 90-92% lung clear Decrease breath sound, Decrease Chest movement
3.Circulation : ความดันโลหิต 102/70 mmHg, อัตราการเต้นของหัวใจ 64 bpm, Capillary refill < 2 sec
4.Disability: ระดับความรู้สึกตัว GCS = 11 คะแนน E2V4M5, Pupil Rt 3 mm Lt 3 mm RTL อุณหภูมิกาย 36.8 องศาเซลเซียส
-
Resuscitation
-
Disability : ประเมินระดับความรู้สึกตัวทุก 5-15 นาที และ Consult แพทย์ระบบประสาท เมื่อระดับความรู้สึกตัวลดลงมากกว่า 2 คะแนน เนื่องจากผู้ป่วยระดับความรู้สึกตัว GCS 11 คะแนน E2V4M5
-
-
Decision tools
-
-
จากรณีศึกษา บริเวณแผลงูกัดมีเลือดออก ค่า VCT > 20 นาที Plt. ต่ำ (100,200 cell/mm3) จากการประเมินความรุนแรงของผู้ป่วยอยู่ในระดับรุนแรง
การจัดการปัญหาฉุกเฉิน
-
จากประเมินตาม Criteria การดูแลผู้ป่วยที่ถูกงูกัด มีความเหมาะสม แต่ส่วนที่เพิ่มเติม ควร Consult แพทย์ Neuro เนื่องจากผู้ป่วยมีระดับความรู้สึกตัวลดลง Tetanus vaccine 0.5 ml. IM. และ ให้ยา Antibiotic ที่มีฤทธิ์กว้าง และพิจารณาให้เซรุ่มให้ตรงกับชนิดของงูที่กัด โดยให้ปริมาณที่มากพอ เพื่อที่จะทำลายพิษงูให้หมดจากกระแสโลหิต วิธีการให้ ต้องให้ทางหลอดเลือดดำ เนื่องจาก การให้โดยวิธีฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เซรุ่มอาจดูดซึมได้ไม่ดี และถ้าผู้ป่วยมีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด อาจเกิด Hematoma ภายหลังฉีดเซรุ่มได้ ในการฉีดเซรุ่มเข้าหลอดเลือดดำนั้น ควรฉีดช้าๆ ภายในเวลา 15 นาที หรือละลายใน NSS ขนาด 1-2 ml/kg. แล้ว drip เข้าหลอดเลือดดำให้หมดใน 30-60 นาที
หลังจากประเมินซ้ำ แล้วพบว่าพิษงูยังอยู่ในกระแสเลือดในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับพิษงูที่มีผลต่อระบบเลือด ควรให้เซรุ่มซ้ำทุก 6 hr. และในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับพิษงูที่มีผลต่อระบบประสาท ควรให้เซรุ่มซ้ำทุก 2-6 hr.
การคัดแยกตามระบบของ ESI
เมื่อประเมินตาม Algorithm ระบบ ESI ประเมินจาก Level 1 ซึ่งจากกรณีศึกษาผู้ป่วยเรียกลืมตาลำบาก SpO2 92% ซึ่งผู้ป่วยมีค่า SpO2 น้อยกว่า 95% respiratory fail เราจึงต้องทำการ resuscitation ต้องใส่ท่อช่วยหายใจโดยด่วน จึงจัดให้ผู้ป่วยอยู่ Level 1
-