Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล - Coggle Diagram
บทที่ 10 การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
การประเมินการเรียนรู้ใน New normal
การประเมินการเรียนรู้ใน New normal มุ่งเน้นการใช้วิธีการประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
บทบาทผู้สอน ต้องจัดเตรียมเครื่องมือการประเมินต่าง ๆ ที่มีคุณภาพ เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ในการประเมินตนเอง อีกทั้งยังต้องให้ข้อมูลย้อนกลับต่อคุณภาพของการประเมินตนเองของผู้เรียน
ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเองในลักษณะของการประเมินเชิงรุกที่เป็นการประเมินตนเองทันทีเมื่อมีการเรียนรู้เกิดขึ้น แทนที่การประเมินเชิงรับ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Digital Learning
1.ออกแบบสถานการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการทำงานร่วมกัน ตอบสนองความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
2.ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความหลากหลายในลักษณะของการเรียนรู้ส่วนบุคคล
เตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรการเรียนรู้ อุปกรณ์การเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้
จัดระบบหรือขั้นตอนการเรียนรู้ให้ชัดเจน
แนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินการเรียนรู้แบบ Digital Learning
การประเมินการเรียนรู้ โดยอาศัยเครื่องมือและอุปกรณ์ดิจิทัล จุดเน้น การประเมินการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนทราบผลการประเมินและข้อมูลย้อนกลับ (feedback) อย่างรวดเร็ว ซึ่งทำให้ผู้เรียนมีจิตใจจดจ่ออยู่กับการเรียนรู้ของตนเอง อีกทั้งเป็นการกระตุ้นแรงจูงใจภายในในการเรียนรู้
แนวปฏิบัติในกรณีที่สถานศึกษาได้รับการรับรองมาตรฐานและคุณภาพ
สถานศึกษาควรนำข้อเสนอแนะของผู้ประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ประกอบในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป แผนการพัฒนาดังกล่าวเป็นแผนการดำเนินการภายในของสถานศึกษา
แนวปฏิบัติในกรณีที่สถานศึกษาไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานและคุณภาพ หรือรับรองมาตรฐานและคุณภาพแบบมีเงื่อนไข
1.ไม่ผ่านเชิงปริมาณให้สถานศึกษาจัดส่งเอกสาร หลักฐานที่ผ่านการรับรองโดยหน่วยงานต้นสังกัดมายัง สมศ. เพื่อพิจารณาปรับผลการประเมิน โดย สมศ. จะไม่ลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล
2.ไม่ผ่านเชิงคุณภาพ สมศ. จะลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล
ความหมาย ลักษณะของการเรียนรู้แบบ Digital Learning
ความหมาย
ความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือทางเทคนิคและเกี่ยวข้องกับความรู้ความสามารถพื้นฐานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายสารสนเทศในการ
ลักษณะ
ผู้สอนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีสถานการณ์ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ผู้สอนทำหน้าที่โค้ช ให้คำชี้แนะ ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยบูรณาการคุณธรรมจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในกิจกรรมการเรียนรู้
กรอบการดำเนินงาน
มิติด้านคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง และผู้เรียน ใช้เป็นข้อมูลรายงานผลการประเมินของ สมศ มิติการเป็นเครื่องมือของรัฐบาล ใช้ผลการประเมินอภิมานคุณภาพภายนอกในการกำหนดนโยบายวางแผน และจัดสรรงบประมาณให้กับการศึกษา และการจัดกลุ่มข้อมูล มิติด้านวิชาการ ทางการศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้ฐานข้อมูลคุณภาพสถานศึกษาทุกระดับในประเทศ
ความหมาย
การเปิดพื้นที่ให้ผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียนรู้ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ได้ในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนทุกระดับ ทุกรายวิชา