Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 มาตรฐานการศึกษา : ระบบการวัดผลแบบ OKRs - Coggle Diagram
บทที่ 5 มาตรฐานการศึกษา :
ระบบการวัดผลแบบ OKRs
OKRs กับการประกันคุณภาพการศึกษา
หลักการสำคัญของ OKRs
เน้นเฉพาะเรื่องที่สำคัญ มีการตั้งเป้าหมายจำนวนไม่มากนัก สอดคล้องกับงานที่สำคัญและจำเป็น และทรัพยากรที่มีจำกัดเน้นความเชื่อมโยงและมีการทำงานเป็นทีม เริ่มจากเป้าหมายสูงสุดขององค์กรไล่ลงมาจนเป็นเป้าหมายของทีมงาน เน้นผู้รับผิดชอบและติดตามได้ง่าย พนักงานได้ตั้งวัตถุประสงค์และผลลัพธ์หลัก เน้นการตั้งเป้าหมายที่ท้าทาย กระตุ้นให้พนักงานตั้งเป้าหมายที่ท้าทาย โดยไม่ผูกติดกับผลตอบแทนพนักงาน
ความหมาย OKR : Objective and Key Results
คือ เครื่องมือในการตั้งเป้าหมายและกำหนดตัววัดผล
การตรวจสอบ OKRs
มีความท้าท้าย เป็นไปได้ ไม่ง่าย ไม่ยาก
ผลลัพธ์หลัก ต้องวัดผลได้ชัดเจน
3.มีความสอดคล้องกับ OKRs ในระดับบนและ OKRs ในระหว่างหน่วยงาน
4.ไม่ใช่กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ แต่เป็นการตั้งวัตถุประสงค์พร้อมทั้งผลลัพธ์หลักที่วัดผลได้ชัดเจน
ลักษณะเป้าหมายที่ดี
มีความเฉพาะเจาะจง นำมาซึ่งประสิทธิผลที่สูง และกรณี เป็นทีม หากมีความสอดคล้องกับความคิดเห็นส่วนรวมของทีม จะนำมาซึ่งประสิทธิผลที่สูง
การนำไปใช้ทางปฏิบัติ
Aspirational OKRs
วัตถุประสงค์ที่อยากทำ เป้าหมายนี้ สะท้อนให้เห็นภาพที่ใหญ่กว่า มีความเสี่ยงสูงกว่า เป็นภาพอนาคตขององค์กร (ระยะยาว)
Committed OKRs
วัตถุประสงค์ที่ต้องทำ เป้าหมายนี้ คือ ตัวชี้วัดต่าง ๆ ที่ต้องทำตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ภายในเวลาที่กำหนด (ถือเป็นหน้าที่ต้องทำเป็นปกติ)
ขั้นตอนหลักนำ OKRs ไปใช้ในทางปฏิบัติ
1.การทำความเข้าใจในแนวคิดของ OKRs
2.เริ่มต้นออกแบบ OKRs
3.สื่อสารให้ทุกคนเข้าใจวิธีการนำเอา OKRs ไปใช้
4.การนำ OKRs ไปใช้ในทางปฏิบัติ
ปัญหาที่เกิดจากใช้ OKRs ในสถานศึกษา
1.การตั้งเป้าหมายใน OKRs ไม่ท้าทาย
2.นำงานประจำทั่วไป ที่ไม่สำคัญมาตั้งเป็นวัตถุประสงค์
3.การตั้งวัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์องค์กร
4.การตั้งผลลัพธ์หลักจำนวนไม่เหมาะสมมากหรือน้อยไปและไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
หลักการสำคัญในการใช้ OKRs
2.Feedback
3.Recognition
1.Conversation
การออกแบบระบบ
การออกแบบวัตถุประสงค์
กำหนดกลยุทธ์หลักขององค์กร ให้สอดคล้องทั้งระดับหน่วยงาน และระดับผู้ปฏิบัติจำนวนไม่เกิน 3-5 ข้อ กำหนดเป็นรายไตรมาส จนถึงรายปี มีลักษณะเชิงคุณภาพ (นอกเหนือจากงานประจำ)
การออกแบบผลลัพธ์หลัก
มีความชัดเจนวัดผลได้ไม่มีความคลุมเครือ มีจำนวนไม่มากนัก โดยทั่วไปจะมีไม่เกิน 5 ผลลัพธ์หลักต่อวัตถุประสงค์ 1 ข้อ การเขียนผลลัพธ์หลัก ต้องมีการออกแบบค่าเป้าหมายและต้องมีความท้าทาย เป็นไปได้
บทสรุป
ประโยชน์ของการศึกษาต่อสถานศึกษา
นำแนวคิดการออกแบบและการนำ OKRs ไปใช้กับโรงเรียน เริ่มจากการสร้าง OKRs ระดับสถานศึกษา ระดับฝ่ายงาน และระดับผู้สอน ปรับให้เข้ากับบริบทของแต่ละโรงเรียน
ประโยชน์ของการศึกษาต่อภาครัฐ
ใช้กับโรงเรียน เพื่อกำหนดวัตถุประสงค์และผลลัพธ์หลักให้สอดคล้องกับนโยบายและโครงการของกระทรวงหรือหน่วยงาน
ข้อจำกัด
ไม่สามารถกำหนด OKRs ประเภทที่ต้องทำกับประเภทที่อยากทำให้แตกต่างกันได้ขาดความเชื่อมั่นในการกำหนด OKRs ประเภทที่อยากทำกำหนดผลลัพธ์ที่สำคัญไม่เพียงพอต่อการบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์