Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 4
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
แนวทางการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ
การกำหนดเป้าหมายความสำเร็จที่ท้าทาย
กำหนดเป้าหมาย โดย เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของสถานศึกษา เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานของสถานศึกษาในกลุ่มเดียวกัน เปรียบเทียบกับเป้าหมายของสถานศึกษาในระดับที่เหนือกว่ากลุ่มเดียวกัน
แนวทางการกำหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
1.ระบุเป้าหมายเชิงปริมาณเป็นจำนวน ร้อยละ หรือค่าเฉลี่ย
2.ระบุเป้าหมายเชิงคุณภาพ
แนวทางการกำหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
1.วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา
2.กำหนดเป้าหมายความสำเร็จที่ท้าทายตามมาตรฐานการศึกษา
ลักษณะของเป้าหมายที่ดี
Specific
Measurable
3 Action oriented
Realistic
Timely
แนวทางการกำหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
1.วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา
2.กำหนดเป้าหมายความสำเร็จที่ท้าทายตามมาตรฐานการศึกษา
แนวคิดและหลักการมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษา
เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริม และกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพ
ความสำคัญและความจำเป็นของมาตรฐานการศึกษา
1.เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
2.กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบการประเมินผลและการประกันคุณภาพการศึกษา
3.เป็นการกำหนดความคาดหวังที่ชัดเจนให้กับครู
ผู้บริหาร พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ
สถานศึกษาทุกแห่งมีเกณฑ์เปรียบเทียบกับมาตรฐานซึ่งเป็นมาตรฐานเดียวกัน ทำให้สถานศึกษาเข้าใจชัดเจนว่าจะพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปในทิศทางใด
หลักการของมาตรฐานการศึกษาของชาติ
มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ เชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของคน รับผิดขอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ เป็นพลเมืองดี มีคุณภาพและความสามารถสูง
ประโยชน์ของมาตรฐานการศึกษา
ช่วยให้สามารถกำหนดเป้าหมายและแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษา
สามารถวางหลักและแนวทางในการกำหนดนโยบายแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ใช้เป็นเครื่องมือในการกำกับ การตรวจสอบ การนิเทศ การติดตามและประเมินผล รวมทั้งการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
มีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับสถานภาพและความก้าวหน้าของการจัดการศึกษา
แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
จุดเน้นด้านการประเมินและการพัฒนามาตรฐานการศึกษา
1.การประเมินครู
2.การประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนและสถานศึกษา
3.การกำหนดแนวทางการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
4.การพัฒนาแบบทดสอบการศึกษามาตรฐาน
การประเมินระดับชั้นเรียน ประเมินอะไร
1.ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา
2.ความก้าวหน้าให้มีประสิทธิผล
3.ความรอบรู้ด้านการวัดผลและคลังเครื่องมือ