Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย, จัดทำโดย…
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด
ประเทศไทยมีการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ด้วยรูปแบบ Anglo-American Model (AAM)
การเจ็บป่วยวิกฤต
Crisis care เพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยการรักษา จึงมุ่งเน้นแก้ไขอาการ
ที่ปรากฏอันตราย
Critical Care เพื่อดำรงรักษาชีวิต มุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏใน
ครั้งแรก และการป้องกันไม่ให้เข้าสู่สถานการณ์คับขัน
สาธารณภัยและอุบัติภัย
ภัยพิบัติ/สาธารณภัย
ประเภทของสาธารณภัย
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ
ภัยที่เกิดจากมนุษย์
ระดับความรุนแรง
รุนแรงระดับ 2 อำเภอไม่สามารถจัดการได้ ต้องขอความช่วยเหลือจากจังหวัด
รุนแรงระดับ 3 ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ ภายในจังหวัด/จังหวัดใกล้เคียง
รุนแรงระดับ 1 เกิดทั่วไป อำเภอจัดการได้ลำพัง
รุนแรงระดับ 4 มีผลกระทบรุนแรงมาก ระดับนายกฯควบคุมสถานการณ์
หมายถึง ภัยที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการ
กระทำของมนุษย์แล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและเกิดความเสียหาย
อุบัติภัย
ประเภทของอุบัติภัยหมู่
Multiple casualties ไม่เกินขีดจำกัดของโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิต จะได้รับการรักษาก่อน
Mass casualties เกิดขีดจำกัดความสามารถของโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีโอกาสรอดมากที่สุด จะได้รับการรักษาก่อน
หมายถึง เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิตความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
ระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
บทบาทพยาบาล
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ได้แก่
ระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วยอุบัติเหตุ (Trauma fast track) ระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วยเจ็บหน้าอก (Chest pain fast track) ระบบทางด่วนสำหรับผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางหลอดเลือดสมอง (Stroke fast track) เป็นต้น
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
1. หลักการทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
เพื่อช่วยชีวิต ด้วยวิธีการที่เหมาะสม เช่นการผายปอด การห้ามเลือด
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต เช่นการทำแผล
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยแล้ว
การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
2. หลักในการพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ
มีการซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสำคัญอย่างละเอียด
ทำการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยำ
เคลื่อนย้ายแบบนุ่มนวล รวดเร็ว ปลอดภัย
รักษาโดยคงไว้ซึ่งอวัยวะสำคัญของร่างกาย
ให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
มีการนัดหมายผู้ป่วย
มีการส่งต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก และภายนอกโรงพยาบาล
ลักษณะผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
และผู้ป่วยวิกฤต
ผูัป่วยฉุกเฉิน
หมายถึง ผู้ที่ทีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชำนาญเฉพาะทาง ลักษณะอาการเช่น ไม่รู้สึกตัว หยุดหายใจ คลำชีพจรไม่ได้ เจ็บปวดรุนแรง มือเท้าซีดเย็น เป็นต้น
ผู้ป่วยวิกฤต
คือผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา เช่น ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย เป็นต้น
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
2. Resuscitation
Airway ในผู้บาดเจ็บที่มีปัญหาการหายใจสามารถรักษาได้โดยการใส่ท่อช่วยหายใจ และควรกระทำแต่เริ่มต้นหลังจากที่ช่วยหายใจด้วยออกซิเจน
Breathing ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ ผู้บาดเจ็บควรได้รับออกซิเจนผ่านหน้ากาก
Circulation การห้ามเลือดเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บโดยทำร่วมกับการให้สารน้ำทดแทน
การให้สารน้ำและเลือด ให้สารน้ำที่เปfน Balance salt solution ไม่ควรให้เลือดร่วมกับ Lactated Ringer's solution, acetar
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับการติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจถ้าพบว่ามีความผิดปกติ
การตวงวัดปริมาณปัสสาวะ เป็นตัวบ่งชี้ที่ดีของปริมาณสาน้ำในร่างกายผู้บาดเจ็บ
การใส่สายสวนกระเพาะ เพื่อลดการโป่งพองของกระเพาะอาหาร ป้องกันการสำลัก และตรวจประเมินดูว่ามีเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนตน
3. Secondary survey
Physical Examination
ในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ ควรตรวจร่างกายผู้ป่วยอย่างละเอียดทั่วร่าง รวมทั้งประเมินร่างกายซ้ำเป็นระยะๆ (Reevaluation)
History
ประกอบด้วย AMPLE
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Past illness/ Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Event/ Environment related to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร รุนแรงเพียงใดสถานการณ์สิ่งแวดล้อมขณะเกิดเหตุเป็นอย่างไร
Blunt trauma ส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุจราจร พลัดตกจากที่สูง
Penetrating trauma เกิดจากอาวุธปืน มีด
1. Primary Survey
(ABCDE)
C:Circulation and Hemorrhage control เป็นการดูแลควบคุมระบบไหลเวียนเลือด และการห้ามเลือด
D:Disability: Neurologic Status เป็นการประเมินระบบประสาทต่อว่าสมองหรือไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือไม่
B:Breathing and Ventilation เป็นการดูแลในด้านการหายใจและการแลกเปลี่ยน ระบายอากาศ
E:Exposure / environmental control ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหนัก ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่างๆ อื่นๆ ทั้งด้านและหลัง
A:Airway maintenance with cervical spine protection คือการดูแลในระบบทางเดินหายใจ และป้องกันความเสียหายกระดูกไขสันหลังส่วนคอ
4. Definitive care
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทำ secondary survey เรียบร้อยแล้ว เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง เป็นการรักษาจำพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ เช่นการผ่าตัดเพื่อแก้ไขภาวะฉุกเฉิน
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care) โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อมเป็นอันดับแรก
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care) คือ การดูแลรักษาในโรงพยาบาลตั้งแต่การคัดแยก จนถึงการฟื้นฟู
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access) คือ การเข้าถึงช่องทางสำหรับการติดต่อในการแจ้งเมื่อมีเหตุเกิดขึ้น
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (Rehabilitation & transfer) คือการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องในรายที่มีปัญหา
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response) โดยยึดตามหลัก
CSCATT
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
การบรรเทาภัย (Mitigation)
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บตาม Disaster paradigm
S – Safety and Security คือการประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards คือ การประเมินสถานที่เกิดเหตุ
I - Incident command คือผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Support คือ การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหต
D – Detection คือการประเมินสถานการณ์ว่าเกินกำลังหรือไม่
T – Triage/Treatment คือ การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจำเป็นของผู้ป่วย
E – Evacuation คือ การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery คือ การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
จัดทำโดย นางสาววัลย์ชาญา พนาวาส 6101211078 Section B