Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลา - Coggle Diagram
การลา
ประเภทการลา
(๑) การลาป่วย
- ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชา
อนุญาตก่อนหรือในวันที่ลา เว้นแต่ในกรณีจำเป็น
ส่งใบลาในวันแรกที่มาปฏิบัติราชการก็ได้
- กรณีไม่สามารถจะลงชื่อในใบลาได้จะให้ผู้อื่นลาแทนก็ได้
- การลาป่วยตั้งแต่ ๓๐ วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองของแพทย์
- การลาป่วยไม่ถึง ๓๐ วันจะสั่งให้มีใบรับรองของแพทย์หรือไปรับการตรวจจากแพทย์ของทางราชการเพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาตก็ได้
(๒) การลาคลอดบุตร
- ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาก่อนหรือใน
วันที่ลา เว้นแต่ไม่สามารถจะลงชื่อในใบลาได้จะให้ผู้อื่น
ลาแทนก็ได้ แต่เมื่อลงชื่อได้แล้วให้เสนอหรือจัดส่ง
ใบลาโดยเร็ว ไม่ต้อขอใบรับรองของแพทย์
- จะลาในวันที่คลอด ก่อน หรือหลังวันที่คลอดบุตรก็ได้
แต่ต้องไม่เกิน ๙๐ วัน
- ข้าราชการที่ได้รับอนุญาตและได้หยุดราชการไปแล้ว
แต่หากประสงค์จะขอยกเลิกวันลาคลอดบุตรที่หยุดไป
ให้ผู้มีอำนาจอนุญาตให้ยกเลิกวันลาคลอดบุตรได้
โดยให้ถือว่าที่ได้หยุดราชการไปแล้วเป็นวันลากิจส่วนตัว
-
(๔) การลากิจส่วนตัว
- ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึงผู้มี
อำนาจอนุญาต และเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะหยุดราชการได้
เว้นแต่มีเหตุจำเป็นจะเสนอหรือจัดส่งใบลาพร้อมระบุเหตุจำเป็น
ไว้แล้วหยุดราชการไปก่อนก็ได้
- ในกรณีมีเหตุพิเศษที่ไม่อาจเสนอหรือจัดส่งใบลาก่อนตาม
วรรคหนึ่งได้ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาพร้อมทั้งเหตุผลความ
จำเป็นในวันแรกที่มาปฏิบัติราชการ
- ข้าราชการที่ลาคลอดบุตรตามข้อ ๑๙ แล้ว หากประสงค์จะลากิจ
ส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตรให้มีสิทธิลาต่อเนื่องจากการลาคลอดบุตรได้
ไม่เกิน ๑๕๐ วันทำการ
(๕) การลาพักผ่อน
- ข้าราชการมีสิทธิลาพักผ่อนประจำปีในปีงบประมาณหนึ่งได้
๑๐ วันทำการเว้นแต่ข้าราชการดังต่อไปนี้ไม่มีสิทธิลาพัก
ผ่อนประจำปีที่ได้รับบรรจุเข้ารับราชการยังไม่ถึง ๖ เดือน
- ปีใดข้าราชการผู้ใดมิได้ลาพักผ่อนประจำปีให้สะสมวันที่ยังมิได้
ลาในปีนั้นรวมเข้ากับปีต่อๆ ไปได้ไม่เกิน ๒๐ วันทำการ
- ให้ข้าราชการที่ประจำการในต่างประเทศในเมืองที่กำลังพัฒนามี
สิทธิลาพักผ่อนประจำปีในปีหนึ่งได้เพิ่มขึ้นอีก ๑๐ วันทำการ
-
-
-
-
(๑๐) การลาติดตามคู่สมรส
- การลาติดตามคู่สมรส จะต้องเป็นกรณีที่คู่สมรสอยู่ปฏิบัติ
หน้าที่ราชการหรือปฏิบัติงานในต่างประเทศเป็นระยะเวลา
ติดต่อกัน ลาได้ไม่เกิน ๒ ปี และในกรณีจำเป็นอาจอนุญาต
ให้ลาต่อได้อีก ๒ ปี แต่เมื่อรวมแล้วต้องไม่เกิน ๔ ปี
ถ้าเกิน ๔ ปีให้ลาออกจากราชการ
-