Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว - Coggle Diagram
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจไมตรัลตีบ(Mitral valve stenosis)
อาการ
หายใจลำบากเวลาออกแรง นอนราบไม่ได้ หอบเหนื่อยกลางคืน ไอเป็นเลือด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ อากําร อากํารแสดง
ตรวจร่างกาย
• ตรวจ EKG, Myocardial nuclear perfusion imaging, Echocardiogram, เอกซเรย์ปอดและการสวนหัวใจ
การรักษา/พยาบาล เป้าหมายคือ ลดอาการหอบเหนื่อยจากหัวใจล้มเหลว มีอายุยืนยาว และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
การใช้ยา ได้แก่ยาขับปัสสาวะและควบคุมโซเดียม
การผ่าตัด ขยายลิ้นหัวใจ (valve repair) ถ้าเป็นมากอาจต้องเปลี่ยนลิ้นหัวใจ (valve replacement)
การปรับพฤติกรรม ควบคุมอาหาร จำกัดเกลือ งดบุหรี่ สุรา การทำฟัน การออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับระยะของโรค
ลิ้นหัวใจเอออร์ตารั่ว(Aorta valve regurgitation )
เป็นภาวะที่ลิ้นเอออร์ติก ปิดเชื่อมได้ไม่สมบูรณ์ขณะหัวใจคลายตัว ทำให้เลือดจํากเอออร์ต้ารั่วย้อนกลับเข้ามาในเวนตริเคิลซ้าย
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจและการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจและหัวใจ ส่วนใหญ่เกิดจากไข้รูมาติค เชื้อแบคทีเรีย หรือ ซิฟิลิส
พยาธิสภาพ
เกิดจากเยื่อบุหัวใจอักเสบติดเชื้อ หลอกเลือดเอออร์ต้าฉีกขาด การบาดเจ็บของทรวงอก ซึ่งภาวะเหล่านี้ทำให้เวนตรืเคิลไม่สามารถปรับตัวรับกับปริมาตรเลือดที่ย้อนกลับได้ ความดันในเวนตริเคิลสูงมาก ทำให้ไมตรัลปิดก่อนกำหนด เลือดค้างในเอเตรียม และหลอดเลือดปอด เกิดภาวะปอดบวมน้ำเฉียบพลัน (Pulmonary edema)
อาการ
ใจสั่น หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้ หายใจเหนื่อยตอนกลางคืน ล้ำมีอาการเจ็บหน้าอก Angina หัวใจเต้นเร็ว มีเสียงฟู่ แบบ Decrescendo ช่วงหัวใจคลายตัว
การดูแลรักษา
ระยะแรกและปํานกลํางรักษําตํามอํากํารร่วมกับปรับพฤติกรรม
ระยะรุนแรง การรักษาที่ได้ผลที่สุดคือการผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม (Valve replacement)(แบบโลหะและธรรมชาติ) การดูแลหลังผ่าตัดและการให้ยาเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยลดอัตราการตายและพิการจากการผ่าตัด
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว(Mitral valve regurgitation)
มักเกิดขึ้นเมื่อลิ้นหัวใจไมตรัล (mitral valve) ปิดไม่สนิท ทำให้มีเลือดไหลย้อนกลับไปที่หัวใจเอตรียมซ้าย ทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อและร่างกายไม่เพียงพอ ผู้ป่วยมักรู้สึกหนื่อยและมีอาการหอบ
สาเหตุ
การติดเชื้อ กํารที่มีการเสื่อมของเนื้อเยื่อ ลิ้นหัวใจฉีกจากโรคบางโรคและการขยายตัวของหัวใจห้องล่าง
อาการ
ในระยะแรกไม่มีอาการ เมื่ออาการรุนแรงขึ้นจะพบหายใจลำบากขณะมีกิจกรรมเมื่อพักอาการจะหายไป ใจสั่น นอนราบไม่ได้ บวมกดบุ๋ม หลอดเลือดดำที่คอโป่งพองอ่อนเพลียมําก ถ้ามีอาการรั่วเรื้อรังจะเกิดหัวใจห้องขวาวายตามมา
ประเมินสภาพ
จากประวัติ อาการแสดง ตรวจร่างกาย EKG, Myocardial nuclear
perfusion imaging, Echocardiogram, เอกซเรย์ปอด และกํารสวนหัวใจ
การรักษา/พยาบาล ขึ้นกับความรุนแรง
ระยะไม่มีอาการ ถ้าเกิดจากไข้รูมําติก ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันกํารกลับเป็นซ้ำ จำกัดกิจกรรม จำกัดเกลือและน้ำ
ระยะที่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง ให้ยาขับปัสสาวะ digitalis ยาขยายหลอดเลือด ยากลุ่มไนเตรท, ACEI จำกัดเกลือ, แก้ไขภาวะหัวใจล้มเหลว
ระยะรุนแรง มักรักษาโดยการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ(valve replacement) เมื่อจำเป็น ลิ้นหัวใจเทียม (Mechanical valve) มี 2 แบบ ชนิดเป็นโลหะ (เกิดลิ่มเลือดได้มําก) และธรรมชาติ (เกิดลิ่มเลือดน้อยกว่า)
ลิ้นหัวใจเอออร์ตาตีบ(Aorta valve stenosis)
เป็นภาวะที่ลิ้นเอออร์ต้าตีบแคบ เปิดไม่เต็มที่ ก่อให้เกิดการอุดกั้นการไหลของหลอดเลือดออกจากเวนตริเคิลซ้ายเข้าสู่เอออร์ต้ํา ในช่วงที่หัวใจบีบตัวการอุดกั้นทำให้เกิดแรงต้านทานการบีบเลือดออกและความดันเวนตริเคิลซ้ายสูงขึ้นเพราะต้องส่งเลือดผ่านลิ้นหัวใจที่ตีบแคบ
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด และความเสื่อมของลิ้นหัวใจจากหินปูนเกาะลิ้นหัวใจเมื่ออายุสูงขึ้น ติดเชื้อลิ้นหัวใจ หรือเป็นไข้รูมาติค ทำให้ลิ้นหัวใจหนา หดรัด มีหินปูนเกาะ
อาการ
เจ็บหน้าอกแบบ Angina หํายใจลำบาก หมดสติเมื่อออกแรง อ่อนเพลีย ล้า นอนราบไม่ได้ มีเหนื่อยหอบกลางคืน เสียงหัวใจผิดปกติแบบ Harsh Crescendo-decrescendo ในช่วงหัวใจบีบตัว
ประเมินสภาพ
เหมือนโรคลิ้นหัวใจอื่นๆ การตรวจที่สำคัญและค่อนข้างแม่นยำคือ EKG,Myocardial nuclear perfusion imaging, Echocardiogram, เอกซเรย์ปอด และกํารสวนหัวใจ
การรักษา/พยาบาล
ระยะแรกรักษาตามอาการ โดยให้ยาและปรับพฤติกรรม
ในระยะรุนแรง กํารผ่าตัดเป็นการรักษาที่ดีที่สุด ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอก Anginaและหมดสติต้องได้รับการแก้ไขทันที ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขจะมีอัตราการตายสูงขึ้น