Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อม, นางสาว เสาวนีย์ นาโสก รหัสนักศึกษา…
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมหมายถึงสิ่งรอบๆตัวมนุษย์เป็นรูปประธรรมมองเห็นหรือสัมผัสได้เช่นมนุษย์พืชสัตว์ดินน้ำอากาศสิ่งของหรือนามธรรมที่ไม่สามารถมองเห็นได้เช่นขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมความเชื่อจำแนกสิ่งแวดล้อมได้ดังนี้
1 สิ่งแวดล้อมที่เกิดตามธรรมชาติหมายถึงเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติมีลักษณะเป็นรูปธรรมเช่น น้ำ ดิน อากาศ ป่าไม้ แม่น้ำ สัตว์ป่า
2 สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นหมายถึงมนุษย์สร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์หรือจัดระเบียบการอยู่ร่วมกันในสังคมเช่นสิ่งก่อสร้าง อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค สิ่งที่เป็นนามธรรมเช่นประเพณีวัฒนธรรมศาสนาและกฎหมาย
องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อม 4 ประเภทดังนี้
ด้านกายภาพืืหมายถึง ลักษณะที่เป็นนามธรรมมีทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเช่น ดิน หิน น้ำ อากาศ ป่าไม้และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเช่นอาคาร บ้านเรือน ถนน เสื้อผ้า เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
ด้านเคมี หมายถึง ลักษณะที่เป็นสารเคมีอาจอยู่ในสถานะของแข็งหรือของเหลวหรือก๊าซที่เกิดโดยธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้นอันก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ได้หากไม่มีการควบคุมหรือนำมาใช้อย่างไม่เหมาะสม
ด้านชีวภาพ หมายถึง สิ่งมีชีวิตเช่น จุลินทรีย์ พืช สัตว์ มนุษย์
ด้านสิ่งแวดล้อม หมายถึง ลักษณะเป็นนามธรรมมีความเกี่ยวข้องการกำหนดพฤติกรรมและการใช้ชีวิตในสังคมของมนุษย์ เช่น จารีตประเพณีวัฒนธรรมศาสนากฎหมาย
สิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กับมนุษย์ด้านความเป็นประโยชน์และการใช้งานโดยสิ่งแวดล้อมจะถูกมองว่าเป็นทรัพยากรเพื่อการใช้งานของมนุษย์แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ
1 กลุ่มทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้นแบ่งเป็น 2 ประเภทได้แก่
1 ประเภทคงสภาพเดิมไม่เปลี่ยนแปลงได้แก่พลังงานจากดวงอาทิตย์ลมอากาศฝุ่น
2 ประเภทมีการเปลี่ยนแปลงจากการใช้ประโยชน์ผิดวิธีเช่น การใช้ดิน การใช้น้ำวิธีที่ไม่ถูกต้องทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านกายภาพและด้านคุณภาพ
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนได้ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า มนุษย์ ความสมบูรณ์ของดิน
ทรัพยากรที่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ เช่น แร่ธาตุ เหล็ก ทองแดง อลูมิเนียม แก้ว
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้น ได้แก่ น้ำมันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน
2 กลุ่มทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้นแบ่งเป็น 2 กลุ่ม
ทรัพยากรชีวภาพและกายภาพ
เกิดจากมนุษย์ใช้ทรัพยากรทางชีวภาพกายภาพมาเป็นวัตถุดิบผ่านกระบวนการผลิตหรือดัดแปลงด้วยเทคโนโลยีจึงเกิดเป็นทรัพยากรเช่นการเกษตร อุตสาหกรรม การประมง พลังงาน การประปา สื่อสารโทรคมนาคม การท่องเที่ยว
กลุ่มทรัพยากรการเศรษฐกิจสังคม
เป็นกลุ่มนามธรรมเกิดจากมนุษย์ใช้ทรัพยากรทางชีวภาพกายภาพมาเป็นวัตถุดิบผ่านกระบวนการผลิตเกิดทรัพยากรเศรษฐกิจสังคมขึ้นเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดีเช่น วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ศาสนา เศรษฐกิจ ในเมือง การศึกษา การสาธารณสุข
อนามัยสิ่งแวดล้อม
งานอนามัยสิ่งแวดล้อมเป็นงานมุ่งเน้นการป้องกันโรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมโดยจัดการและควบคุมสิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์องค์กรอนามัยโลกกำหนดขอบเขตไว้เป็นแนวทางให้ประเทศต่างๆหรือดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาตามความจำเป็นและความสามารถดังนี้
-การจัดหาน้ำสะอาดในการอุปโภคบริโภค
-ควบคุมมลพิษทางน้ำ
-จัดการขยะมูลฝอยของเสีย
-ควบคุมสัตว์ปอดและสัตว์ฟันแทะปอดเช่นยุงแมลงวันแมลงสาบเห็บหมัดไรเช่นหนู
-การควบคุมมลพิษของดิน
-การป้องกันอันตรายจากรังสี
-งานอาชีวอนามัย
-การควบคุมมลพิษทางเสียง
-ที่อยู่อาศัยสิ่งแวดล้อมใกล้เคียงให้ถูกสุขลักษณะ
-กำหนดแนวทางพัฒนาเมืองในอนาคต
-ควบคุมดูแลในการคมนาคมทางบกทางน้ำและทางอากาศให้เหมาะสมในการป้องกันมิให้มีอะไรแพ้เชื้อโรค
-ป้องกันอุบัติเหตุอุบัติภัยต่างๆ
-สุขาภิบาลสถานที่พักผ่อนหย่อนใจสวนสาธารณะ
-ดำเนินงานสุขาภิบาลเมื่อเกิดโรคระบาดในชุมชนพยาบาลและการอพยพย้ายถิ่น
การอนามัยสิ่งแวดล้อมเป็นพื้นฐานของสาธารณสุขในพิธีการให้บริการด้านป้องกันโรคระบาดสรุปสำคัญอนามัยไว้ดังนี้
ลดอัตราป่วยและตายของประชาชน
สร้างเสริมสุขภาพของประชาชน
ช่างสุนทรสภาพความเจริญในชุมชน
ส่งเสริมเศรษฐกิจของชุมชน
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ
ได้รับเชื้อหรือสิ่งที่ทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บเช่นเชื้อโรคสารพิษ
ได้รับเชื้อโรคหรือสารพิษที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกรรมพันธุ์
ภูมิต้านทานต่ำลง
เกิดความเดือดร้อนรำคาญและไม่สะดวกสบายจากการได้รับจากมลพิษเช่นเสียงดังกลิ่นเหม็นหมอกควัน
โรคต่างๆที่มีอยู่ในพื้นที่เกิดการลัดขึ้น
เกิดผลเสียต่อสุขภาพจิต
ของเสียและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม 4 กลุ่มใหญ่ๆดังนี้
ของแข็ง เช่น กากสารพิษ ฝุ่นละออง มูลฝอย
ของเหลว เช่น ไขมัน น้ำมัน น้ำเสีย
ก๊าซ เช่น อากาศที่ปนเปื้อนด้วยควันสารพิษก๊าซพิษ
พลังงานทางฟิสิกส์ เช่น ความร้อนแสงสว่างกัมมันตรังสีเสียงความสั่นสะเทือน
มลพิษทางน้ำ
สาเหตุที่ทำให้เสื่อมโทรมเกิดจากหลายแห่งได้แก่
-น้ำเสียจากชุมชน
-น้ำเสียจากอุตสาหกรรม
-น้ำเสียจากเกษตรกรรม
-น้ำเสียจากสถานที่กำจัดมูลฝอย
-น้ำเสียจากแหล่งกำเนิดอื่นๆเช่นคมนาคมขนส่งการบริการกวาดการล้างถนน
ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางน้ำ 4 ประเภทดังนี้
โรคหรือความเจ็บป่วยที่มีน้ำเป็นสื่อในการแพร่กระจาย
โรคหรือความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการขาดแคลนน้ำสะอาด
โรคความเจ็บป่วยเนื่องมาจากเชื้อโรคในสัตว์น้ำลูกที่มีวงจรอาศัยอยู่ในน้ำ
โรคความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากแมลงเป็นพาหะนำโรคที่ต้องอาศัยน้ำในการแพร่พันธุ์
มลพิษทางอากาศ
ผลกระทบต่อสุขภาพดังนี้
-ฝุ่นละออง
-ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์
-ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์
-ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์
ขยะและของเสียอันตราย
ผลกระทบต่อสุขภาพและการกำจัดของเสียที่ไม่มีประสิทธิภาพได้แก่
-การแพร่กระจายของเชื้อโรคและสัตว์ที่เป็นพาหะ
-น้ำเสียจากกองขยะมูลฝอยมีความสุขกับโรคสูง
-ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดมลพิษในอากาศ
-ก็ความรำคาญ
มลพิษทางดินจำแนกเป็น 3 ลักษณะคือ
เป็นมนต์และสารที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษ สารกำจัดศัตรูพืชหรือสารพิษอื่น
เป็นแหล่งรองรับสารพิษ พลาสติกโฟม
ดินเป็นพิษ มีการเปลี่ยนแปลงของจุลินทรีย์ไอดินความสามารถในการย่อยจุลินทรีย์เปลี่ยนไปพืชที่ปลูกบนพื้นดินเป็นพิษ
บทบาทหน้าที่พยาบาลชุมชนในด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
เป็นผู้ให้ความรู้และคำแนะนำผู้รับบริการหรือญาติในการปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมและจัดสภาพแวดล้อมในบ้านให้ถูกสุขลักษณะได้
เป็นผู้ให้คำปรึกษาผู้รับบริการมีปัญหาสุขภาพหรือวิธีปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ถูกรักสุขลักษณะ
เป็นผู้ประสานงานแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมบางประเภทดำเนินงานร่วมกับบุคลากรและฝ่ายประสานงานหรือแจ้งหน่วยงานเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเพื่อวางแผนดำเนินการอย่างเหมาะสม
เป็นผู้บริหารจัดการสามารถเข้าร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมร่วมกับเจ้าหน้าที่อื่น
เป็นผู้ดำเนินการวิจัยในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพอนามัยที่เกี่ยวข้องกับอนามัยสิ่งแวดล้อมหรือสิ่งแวดล้อมพื้นฐานในชีวิตประจำวันของประชาชน
เป็นผู้นำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนและผู้รับบริการโดยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
Cary & Mood เพิ่มเติมบทบาทพยาบาลที่สำคัญด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมดังต่อไปนี้
1 community involvement
เป็นผู้ชักนำกระตุ้นสนับสนุนหรือสื่อกลางประสานงานจัดประชุมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาแก้ไขหรือตัดสินใจในการกระทำหรือกิจกรรมที่จะมีผลกระทบต่อชุมชนเช่นการทำเหมืองฝายหรือเขื่อนในพื้นที่ชุมชน
2 individual and population risk assessment
เป็นผู้ประเมินความเสี่ยงของบุคคลครอบครัวและชุมชนใช้กระบวนการพยาบาลในการติดตามสอบสวนหาสาเหตุการเกิดโรคสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อมเช่นโรคฉี่หนูหรือโรคไข้เลือดออกวัณโรคเป็นต้น
3 Risk communication
เป็นผู้สื่อสารความเสี่ยงโดยให้ข้อมูลทำความเข้าใจแก่บุคคลครอบครัวในชุมชนถึงปัจจัยภายในสิ่งแวดล้อมที่มีต่อสุขภาพของมนุษย์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องโดยความปลอดครัวและแก้ไขปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยมากขึ้น
นางสาว เสาวนีย์ นาโสก
รหัสนักศึกษา 624N46222
ห้อง 624N-46/2