Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวคิด หลักการ การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle…
บทที่ 5 แนวคิด หลักการ การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
แนวคิด
ไทยมีการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ด้วยรูปแบบ Anglo-American Model (AAM)
การเจ็บป่วยวิกฤต
มีความรุนแรง ถึงขั้นเสียชีวิตหรือพิการ
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน ต้องช่วยเหลือ และรักษาทันที
ผูู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ลักษณะทางคลินิก
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
ความดันโลหิต Systolic ต่ำกว่า 80 มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130 มม.ปรอท
มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
คลำชีพจรไม่ได้ หรือชีพจรช้ากว่า 40 หรือเร็วกว่า 30 ครั้ง/นาที
อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่า 35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า 30 ครั้งต่อนาที หายใจลำบากหรือหอบเหนื่อย
ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งู หรือสารพิษ
ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
ผู้ป่วยวิกฤติ
ลักษณะ
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง เช่น ผู้ป่วย Septic Shock
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง เช่น ผู้ป่วย myocardialin farction
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ เช่น หมดสติ มีระบบการหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา เช่น ผู้ป้วยมะเร็งระยะสุดท้าย
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไป
การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
บันทึกเหตุการณ์ อาการและการช่วยเหลือผู้ป่วย
เพื่อช่วยชีวิต
การส่งต่อรักษา หลังจากให้การช่วยเหลือเบื้องต้น
หลักในการพยาบาล
ทำการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยำ
ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล คงหน้าที่ของอวัยวะสำคัญ
มีการซักประวัติ อย่างละเอียด ในเวลาที่รวดเร็ว
ให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
อุ้มยกเคลื่อนย้าย อย่างน่วลรวดเร็วปลอดภัย
ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
มีการนัดหมายผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง
มีการส่งต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก และภายนอกโรงพยาบาล
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาล พ.ศ. 2552
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสำคัญของร่างกายให้คงไว้
ค้นหาสาเหตุและ/ดำเนินการแก้ไข
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่กำลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
บทบาทพยาบาลกับ Fast track
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน
การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จำกัด
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานในภาพรวม
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน
Investigation
Care delivery
Flow (purpose-process-performance)
Monitoring: early warning signs & E-response
Activate system
Risk management (general & clinical)
Co-ordination, Communication, Handover
Inter & Intra transportation
Triage/ Specific triage/ Assessment
Evaluation, output, outcome
EMS (accessibility)
Improvement, Innovation, Integration
Trauma life support
Trauma care system
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
คำนึงถึงความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อมเป็นอันดับแรก (scene safety)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
ตั้งแต่การคัดแยก ระบบทางด่วนฉุกเฉิน การวินิจฉัย ดูแลในหอผู้ป่วย
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
ช่องทางสำหรับการติดต่อในการแจ้งเมื่อมีเหตุ
โทร 1669
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (Rehabilitation & transfer)
ฟื้นฟูเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น ประกอบด้วย
Resuscitation
การดูแลทางเดินหายใจ การช;วยหายใจ การใส่ท่อช่วยหายใจ การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ การห้ามเลือด
Secondary survey
การซักประวัติ การตรวจ Head to toe การตรวจทางรังสีรักษา การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษ
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
ตามลำดับขั้นตอนดังนี้
Circulation with hemorrhagic control
Disability (Neurologic Status)
Breathing and ventilation
Exposure / environmental control
Airway maintenance with cervical spine protection
Definitive care
การผ่าตัด Craniotomy , Exploratory Laparotomy การนอนรักษาตัวในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก
Primary survey: ขั้นตอนและวิธีการ
Airway maintenance with cervical spine protection
เปิดทางเดินหายใจให้โล่งโดยใช้วิธีการ Head-tilt Chin-lif
กรณีได้รับอุบัติเหตุให้ด้วยวิธี jaw-thrust maneuver, modified jaw thrust, Triple airway maneuver
อาการ
หายใจเสียงดัง
เปลือกตาซีด
ปลายมือเท้าซีดเขียว
หายใจโดยใช้กล้ามเนื้อ
การป้องกัน
การใส่ Cervical collar หรือใช้หมอนทรายวางที่สองข้างของศีรษะไว้ตลอดเวลาจนกว่า
จะแน่ใจว่าไม่มี Cervical spine injury
Endotracheal tube ต้องหลีกเลี่ยงการแหงนคอมากจนเกินไป ต้องมีคนประคอง Cervical spine ตลอดเวลา (In-line stabilization)
Breathing and Ventilation
โดยประเมินจาก
ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
คลำ การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
Circulation and Hemorrhage control
ประเมินจากสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว สีผิว อุณหภูมิ รวมถึงปริมาณเลือดที่ออกจาบาดแผล
ค้นหาภาวะ Shock
Exposure / Environment control
ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บ
วิธีการตรวจ bulbocarvernosus reflex
ผู้ตรวจใช้นิ้วมือสอดเข้าไปในทวารหนักผู้บาดเจ็บ
จากนั้นบีบที่บริเวณหัวอวัยวะเพศชาย กระตุ้น clitorisในเพศหญิง
ถ้าพบว่าหูรูดทวารหนักมีการหดรัดตัวรอบนิ้วมือ
แสดงว่าการตรวจให้ผลบวก
การกู้ชีพ (Resuscitation)
Airway
ใส่ท่อช่วยหายใจ
Breathing
รับreservoir face mask ที่ flow rate 11 L/min
Circulation +การให้สารน้ำและเลือด
หลีกเลี่ยงแทงเส้นใต้ตำแหน่ง ที่ได้รับบาดเจ็บ
ให้สารน้ำที่เป็น Balance salt solution
เปิดหลอดเลือดดำด้วยเข็มขนาดใหญ่
หากอาการไม่ดี พิจารณาการให้เลือดกรุ้ป โอ
ไม่ควรให้เลือดร่วมกับ Lactated Ringer's solution, acetar
หลังได้รับเลือด ประเมิน ชีพจรลดลง ความดันโลหิต
เพิ่มขึ้นปัสสาวะ ปลายมือปลายเท้าไม่ซีด อุ่นขึ้น
ระดับความรู้สึกตัวดีขึ้น
การประเมินสภาพร้างกายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด (Secondary Survey)
History
Past illness/ Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Event/ Environment related to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
Physical Examination
Head
ตรวจหนังศีรษะให้ใช้มือคลำ
Facial
คลำกระดูกใบหน้า
Cervical spine and Neck
คำนึงถึง cervical spine injury พยาบาลจะใส่ Collar
Chest
มองหารอยช้ำ รอยยุบ คลำดูว่ามี Crepitus
Abdomen
ตรวจร่างการบริเวณท้อง รอยแผล รอยช้ำ
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment
Pelvic fracture
ตรวจพบ Ecchymosis บริเวณ Iliac wing, Pubis, Labia
Neurological system
ประเมิน motor, sensory
Reevaluation
ประเมินร่างกายซ้ำเป็นระยะๆ
การรักษาผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บภายหลังได้รับการช่วยเหลือขั้นต้นแล้ว (Definitive Care)
รักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทำ secondary survey
เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพ
โดยตรง เป็นการรักษาจำพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การผ่าตัด เช่น
Intracranial hematoma, Intra-abdominal bleeding รวมทั้ง multiple organ injury
การพยาบาลสาธารณภัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาธารณภัย / ภัยพิบัติ(Disaster)
ภัยสาธารณะ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น คลื่นยักษ์ ดินถล่ม โรคระบาด
ภัยที่เกิดจากคนทำ ได้แก่ สารเคมีรั่วไหล รถชน ตึกถล่ม
ภัยทางอากาศ
ปล้นเครื่องบิน
สาธารณภัย
อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัยภัย ภัยแล้ง
การก่อวินาศภัย
ก่อการร้าย กราดยิง วางระเบิด
ประเภทของภัยพิบัติ
Natural Disaster
เกิดแบบฉับพลัน แบบค่อยเป็นค่อยไป
Man-made Disaster
เกิดอย่างจงใจและเกิดอย่างไม่จงใจ
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การบรรเทาภัย
การเฝ้าระวังหรือระบบการมีข่าวกรองที่ดีในการแจ้งภัยล่วงหน้า
การเตรียมความพร้อม
มีการฝึกอบรมความรู้และทักษะ
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน
ดำเนินการตามหลัก CSCATT
C – Communication
A – Assessment
T – Treatment
S – Safety A, B, C
T – Transportation
C – Command
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตราย
เฝ้าระวังภายใน 5 วัน
การบูรณะฟื้นฟู
เน้นให้มีระบบเฝ้า
ระวังโรคติดต่อ
ฟื้นฟูทางด้านจิตใจของผู้ประสบภัยและครอบครัว
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์สาธารณภัย
นำความรู้และทักษะทางการพยาบาลมาประยุกต์ใช้
เป็นการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ
ป้องกันและลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย
มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัยจำนวนมากในขณะเกิดภัย
การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประสบภัยและญาติ
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพ
คุณสมบัติพยาบาลสำหรับจัดการสาธารณภัย
มีความรู้ด้านสาธารณภัย
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี มีความเป็นผู้นำ
มีความรู้ มีประสบการณ์
มีทักษะในการสื่อสาร
มีวุฒิภาวะที่เหมาะสมกับสถานการณ์