Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
1) Anglo-AmericanModel(AAM)
2) Franco-German Model (FGM)
“Stay and Stabilize” ให้เวลานานในการดูแลอาการในสถานที่เกิดเหตุและนําการรักษาไปยังสถานที่เกิดเหตุ
นําบริการโรงพยาบาลมาหาผู้ป่วย
แพทย์ให้การดูแลโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย อาจนําเทคโนโลยีรวมไปให้การดูแลในขั้นสูง
ลําเลียงผู้ป่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส;วนหนึ่งขององค์การสาธารณสุข
Ambulance, Helicopter และ Coastal ambulance
ภายใต้บริการจะเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพ
ค่าใช้จ่ายต่ำกว่า AAM
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการรับการรักษา ณ จุดเกิดเหตุ
มีเพียงจํานวนน้อยที่นําส่งโรงพยาบาล
“Scoop and run” เวลาสําหรับการประคับประคองอาการในสถานที่เกิดเหตุสั้น และนําผู้ป่วยส่งยังสถานพยาบาลให้เร็วที่สุด
นําผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแลโดยมีแพทย์กํากับ
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเปfนส่วนหนึ่งขององค์การความปลอดภัยสาธารณะ
รถ Ambulance เป็นหลัก
ใช้ Aero-medical หรือ Coastal ambulance
องค์การที่เกี่ยวข้องการบริการความปลอดภัยของสาธารณะ เช่น ตํารวจ สถานีดับเพลิง
ค่าใช้จ่ายสูงกว่า FGM
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการนําส่งไปยังโรงพยาบาล
มีเพียงจํานวนน้อยที่ได้รับ การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
คือ การเจ็บปjวยที่เกิดขึ้นอยjางกะทันหัน จําเป็นต้องดําเนินการช่วยเหลือ และการดูแลรักษาทันที อาจเกิดจากภาวะต่างๆ เช่น การเกิดโรคในระบบต่างๆ ของร่างกาย การบาดเจ็บ การเกิดโรคติดต่อ และโรคติดเชื้อ เป็นต้น
การเจ็บป่วยวิกฤต
Critical จะนํามาใช้ในผู้ป่วยอาการเพียบหนักมีอาการรุนแรง หรือขั้นฉุกเฉิน มีอันตราย
Crisis นํามาใช้กับผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะที่มีสถานการณ์คับขัน เป็นจุดวิกฤตของการเป็นโรค ทําให้มีอาการดีขึ้น หรือตายได้ในทันทีผู้ ป่วยในสภาวะนี้มีโอกาสของความเปfนความตายได้เท่ากัน
หมายความถึง การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทําให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
อุบัติเหตุ (Accident)
คือ อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดหมายมาก่อน ทําให้เกิดการบาดเจ็บตายและการสูญเสียทรัพย์สินโดยที่เราไม่ต้องการ
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หมายถึง ผู้ที่มีอาการหนักรุนแรงต้องการการดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชํานาญเฉพาะทาง โดยใช้หลักและกระบวนการพยาบาลที่สมบูรณ์ เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิต
ลักษณะทางคลินิก
2.หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า 30 ครั้งต่อนาที หายใจลําบากหรือหอบเหนื่อย
3.คลําชีพจรไม่ได้ หรือชีพจรช้ากว่า 40 หรือเร็วกว่า 30 ครั้ง/นาที
4.ความดันโลหิต Systolic ต่ำกว่า 80 มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130 มม.ปรอท
5.ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
6.เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
7.มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมาก
8.อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่า 35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
9.ถูกพิษจากสัตว์ เช่น งู หรือสารพิษชนิดต่างๆ
1.ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
ผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง เช่น ผู้ป่วย Septic Shock
3.ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง เช่น ผู้ป่วย myocardialin farction ต้องการการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา เช่น ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ เช่น ผู้ป่วยที่หมดสติ ผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลว เป็นต้น
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
2.การป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
3.การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
4.การส่งต่อรักษา
1.เพื่อช่วยชีวิต
หลักในการพยาบาล
1.มีหลักในการอุ้มยกเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากยานพาหนะไปยังห้องพยาบาล อย่างนุ่มนวลรวดเร็วปลอดภัย
2.มีการซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสําคัญอย่างละเอียด ในเวลาที่รวดเร็ว กรณีผู้ป่วยอุบัติเหตุต้องซักประวัติการช่วยเหลือเบื้องต้น วิธีการ ระยะเวลาในการนําส่งเพิ่มเติม
3.ทําการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยํา
4.ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล และภายในเขตการรับรองของกฎหมาย โดยคงไว้ซึ่งหน้าที่ของอวัยวะสําคัญชีวิตและสภาพร่างกายของผู้ป่วย
5.ให้การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
6.ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
7.มีการนัดหมายผู้ป่วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง
8.มีการส่งต่อเพื่อการรักษาทั้งในหอผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยหนัก และภายนอกโรงพยาบาล
หลักการพยาบาลตามบทบาทพยาบาลวิชาชีพงานบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินของสภาการพยาบาลพ.ศ.2552
6.ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
รักษาหน้าที่ต่างๆ ของอวัยวะสําคัญของร่างกายให้คงไว้
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ค้นหาสาเหตุและหรือปัญหาที่ทําให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดําเนินการแก้ไข
ดําเนินการแก้ไขปัญหาที่กําลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
การพยาบาลสาธารณภัย
ภัยพิบัติ/สาธารณภัย (Disaster)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
1.ภัย (Hazard)
หมายถึง เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
2.สาธารณภัย / ภัยพิบัติ (Disaster)
หมายถึง ภัยที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทําของมนุษย์แล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต เกิดความสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สิน สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
ประเภทของภัยพิบัติ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Disaster) ได้แก่ เกิดแบบฉับพลัน และเกิดแบบค่อยเป็นค่อยไป
ภัยที่เกิดจากมนุษย์ (Man-made Disaster) ได้แก่ เกิดอย่างจงใจและเกิดอย่างไม่จงใจ
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ความรุนแรงระดับที่ 1 : สาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วไปหรือมีขนาดเล็ก ซึ่งสํานักงานสาธารณสุขในระดับอําเภอสามารถจัดการได้ตามลําพัง
ความรุนแรงระดับที่ 2 : สาธารณภัยขนาดกลาง หน่วยงานสาธารณสุขระดับอําเภอไม่สามารถจัดการได้ ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดในการจัดการเข้าระงับภัย
ความรุนแรงระดับที่ 3 : สาธารณภัยขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง หรือสาธารณภัยที่จําเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญหรืออุปกรณ์พิเศษ ต้องอาศัยการสนับสนุนจากหน่วยงานหลายส่วนราชการภายในเขตจังหวัด /จังหวัดใกล้เคียง และระดับเขต
อุบัติภัย
ภัย (Hazard)
หมายถึง เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ใดๆที่สามารถที่ทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความเสียหายต่อทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
อุบัติเหตุกลุ่มชน/อุบัติภัยหมู่ (MASS CASSUALTIES)
หมายถึง อุบัติเหตุที่เกิดกับคนจํานวนมาก ได้รับการเจ็บป็วยจํานวนมาก เกินขีดความสามารถปกติที่โรงพยาบาลจะให้การรักษาพยาบาลได้ ทําให้โรงพยาบาลไม่สามารถปฏิบัติภารกิจเช่นเดิมได้ ต้องมีการระดมพลเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล หรือนอกโรงพยาบาลมาช่วย
ประเภทของอุบัติภัยหมู่แบ่งตามขีดความสามารถของสถานพยาบาล
Multiple casualties ทั้งจํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกินขีดความสามารถของ
โรงพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิต (life Threatening) จะได้รับการรักษาก่อน
Mass casualties ทั้งจํานวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลและ
ทีมผู้รักษาผู้ป่วยที่มีโอกาสรอดชีวิตมากที่สุดโดยใช้เวลาและทรัพยากรน้อยที่สุดจะได้รับการรักษาก่อน
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
1.การบรรเทาภัย (Mitigation)
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ดําเนินการเพื่อลดหรือกําจัดโอกาสในการเกิดหรือลดผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ ได้แก่ การจัดทําโครงการบรรเทาภัยก่อนเกิดภัย การจัดทําข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย การเฝ้าระวังหรือระบบการมีข่าวกรองที่ดีในการแจ้งภัยล่วงหน้า
2.การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
การรองรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน เป็นระยะต่อเนื่องจากการบรรเทาภัย โดยการเตรียมคนให้พร้อม มีแผนที่ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีการฝึกอบรมความรู้และทักษะ
3.การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
ต้องมีการดําเนินการทันเมื่อเกิดภัย โดยยึดตามหลัก CSCATT
4.การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
ต้องจัดให้มีระบบเฝ้าระวังภายใน 5 วันหลังภัยพิบัติ
5.การบูรณะฟื้นฟู (Recovery)
เป็นระยะสุดท้ายในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ซึ่งต้องดําเนินไปเรื่อยๆ จนกว่าทุกอย่างจะกลับสู่ภาวะปกติหรือใกล้เคียงกับปกติมากที่สุด
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
Disaster paradigm
D – Detection คือ การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกําลังหรือไม่
I - Incident command คือ ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security คือ การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards คือ การประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S – Support คือ การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment คือ การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย
E – Evacuation คือ การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery คือ การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
หลักการ
1.การจัดทําควรเปfนทีมสหสาขาวิชาชีพ ประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล
เจ้าหน้าที่ในส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง
2.จัดทําแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย
3.จัดทําแนวปฏิบัติ ลําดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงประตูโรงพยาบาล
4.จัดทํารายการตรวจสอบ (check list) สําหรับการลงข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ
5.ฝึกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถดําเนินการตามระบบทางด่วน
6.แผนการปฏิบัติต้องเน่นย้ำเวลาเป็นสําคัญ
7.กําหนด clinical indicator เพื่อการติดตามและประเมินผลในแต่ละขั้นตอนของระบบทางด่วน
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน (Fast track)
1.การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
2.การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
3.การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
4.การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
5.การให้การดูแลตามแผนการรักษาภายใต้ระยะเวลาที่จํากัด
6.การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
7.การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามการประเมินผลลัพธ์
8.การดําเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลการดําเนินงานในภาพรวม
9.การจัดระบบให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma care system)
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital care)
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล (Hospital care)
การฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อ (Rehabilitation& transfer)
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
Primary survey: ขั้นตอนและวิธีการ
Airway maintenance with cervical spine protection
เริ่มต้นจากการประเมิน Airway เพื่อหาอาการที่เกิดจากทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction) ควรรวมไปถึงการดูดเสมหะ การหาสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ การแตกหักของกระดูกใบหน้า กราม หรือการแตกของหลอดลมหรือกล่องเสียง ลิ้นตก เลือดออกในช่องปากและทางเดินหายใจส่วนบน การบวมของ soft tissueในคอ สิ่งแปลกปลอม ฟัน เศษอาหารที่อาเจียน
เปิดทางเดินหายใจให้โล่งโดยใช้วิธีการ Head-tilt Chin-lift, กรณีผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับอุบัติเหตุให้ทําการเปิดทางเดินหายใจด้วยวิธี jaw-thrust maneuver, modified jaw thrust, Triple airway maneuver โดยต้องป้องกันการบาดเจ็บของ Cervical spine ตลอดเวลา
อาการที่เกิดจากการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน ได้แก่ restless จากภาวะ Hypoxia หายใจเสียงดัง เปลือกตาซีด ปลายมือเท้าซีดเขียว หายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหายใจช่วยมากกว่าปกติ
ผู้ป่วย severe head injury ที่ Glasgow coma score น้อยกว่า 8 หรือ อยู่ในอาการ Coma ควรให้การ definitive care ทุกราย
ผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบนได้แก่ ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บกระดูกสันหลังส่วนคอ (Cervical spine injury) ดังนั้นในผู้บาดเจ็บที่ควรให้ความระมัดระวัง Cervical spine injury ได้แก่ ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
ผู้ป่วย Maxillofacial injury ควรป้องกันการเคลื่อนไหวของ cervical spine ประคับประคองไม่ให้มี Hyperextension หรือ Hyperflexion หรือ rotating ของคอ
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเมื่อมีปัญหาทางเดินหายใจอุดกั้น แพทย์จะพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ (Endotracheal intubation)
การใส่ Endotracheal tube ต้องทําการแหงนคอผู้ป่วยจึงอาจทําให้เกิดการบาดเจ็บและเกิดการกดทับไขสันหลังระดับคอ (Cervical cord)
Breathing and Ventilation
ปัญหาการหายใจที่พบบ่อยในการทํา primary survey ได้แก่ tension pneumothorax, Flail chest with pulmonary contusion, Open pneumothorax, Hemothorax, Hypovolemic shock
พยาบาลควรวินิจฉัยภาวะผิดปกติตั้งแต่ Primary survey โดยประเมินจาก
1.การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
2.ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
3.คลํา การเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
4.ฟัง Breath sound ทั้งสองข้าง
Circulation and Hemorrhage control
เป็นการประเมินในระบบไหลเวียนและการห้ามเลือด โดยประเมินจากสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว สีผิว อุณหภูมิ รวมถึงปริมาณเลือดที่ออกจากบาดแผล การประเมินในขั้นตอนนี้จึงหมายถึงการค้นหาภาวะ Shock
อาการทางระบบประสาท
ประกอบด้วย ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการซึม เชื่องช้า สับสนบางราบมีอาการเอะอะ และสุดท้ายจะหมดสติ การตอบสนองของรูม่านตา (pupils)
ผิวหนัง
ผู้ป่วยจะมีผิวหนังเย็น ชื้น เหงื่อออกมาก cyanosis
หัวใจและหลอดเลือด
ป่วยช็อก Systolic BP จะลดลงต่ำกว่า 90 mm.Hg. หรือต่ำกว่าปกติ 50 mm.Hg. หาก Systolic BP น้อยกว่า 60-70 mm.Hg. จํานวนเลือดที่ไปเลี้ยงสมองจะลดลง Systolic BP น้อยกว่า 50 mm.Hg. สมองจะขาดออกซิเจน Pulsepressure แคบลง แสดงถึง CO น้อยลง และระยะพักหัวใจได้รับเลือดน้อยลงด้วย
Pulse จะพบชีพจรเบา เร็ว จากระบบ Sympathetic แต่ระยะท้ายชีพจรจะช้า และไม่สม่ำเสมอ
Capillary filling time จะพบนานกว่า 1-2 วินาที เพื่อทดสอบการไหลเวียนที่หลอดเลือดส่วนปลาย
Central venous pressure เท้ากับ 7-8 cm.H2O
ระบบหายใจ
พบการหายใจเร็ว และไม่สม่ำเสมอ จาก Acidosisrespiration
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระยะแรกปัสสาวะจะลดลงเหลือ 30-50 ml./hr. และ 40 ml./hr.เมื่อเกิดภาวะไตวายปัสสาวะจะออกน้อยกว่า 20 ml./hr.
ระบบทางเดินอาหาร
ผู้ป่วยจะกระหายน้ำ น้ำลายน้อยลง ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน ลําไส้บวม และ ไม่ได้ยิน bowel sound
ภาวะกรดด่างของร่างกาย
ร่างกายจะเกิดการเผาผลาญแบบ anaerobic metabolism จนเกิดภาวะ acidosis metabolic
Resuscitation เป็นการช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตที่อาจทําให้เสียชีวิตได้
การกู้ชีพ (Resuscitation)
คือ การแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตหรือที่เป็นอันตรายเร่งด่วน โดยการกู้ชีพจะทําหลังจากการประเมิน เป็นลําดับของ ABC
Airway ภายหลังจากการประเมิน การทําDefinitive airway ในผู้บาดเจ็บที่มีปัญหาการหายใจ สามารถรักษาได้โดยการใส่ท่อช่วยหายใจ และควรกระทําแต่เริ่มต้นหลังจากที่ช่วยหายใจด้วยออกซิเจน
Breathing ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ ผู้บาดเจ็บควรได้รับออกซิเจนผ่านหน้ากาก (reservoir face mask) ที่เหมาะสมกับหน้าพอดีด้วย flow rate 11 L/min
Circulation การห้ามเลือดเป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บโดยทําร่วมกับการให้สารน้ำทดแทน เมื่อทําการเปิดเส้นเลือดแล้วควรเก็บเลือดส่งตรวจเพื่อช่วยในการประเมินความผิดปกติที่เกิดขึ้น
การให้สารน้ำและเลือด
2.หลีกเลี่ยงแทงเส้นใต้ตําแหน่งของแขนขาที่ได้รับบาดเจ็บ
3.กรณีสงสัยว่ามีเลือดออกในช่องท้อง หลีกเลี่ยงการให้สารน้ำที่ขาเพราะจะทําให้สารน้ําไหลรั่วเข้าช่องท้อง
4.ให้สารน้ำที่เป็น Balance salt solution
5.หากอาการทรุดลง ไม่ตอบสนองพิจารณาการให้เลือดกรุ๊ป โอ ซึ่งสามารถให้เลือดทุกหมู่ได้ตามแผนการรักษา
6.ไม่ควรให้เลือดร่วมกับ Lactated Ringer's solution, acetarสารน้ำดังกล่าวมีส่วนผสมของแคลเซียมเพราะจะทําให้เลือดอตกตะกอน
1.อย่างน้อยควรเปิดหลอดเลือดดําด้วยเข็มขนาดใหญ่และสั้น 2 เส้น เบอร์ 18,16,14
หลังไดhรับสารน้ําหรือเลือดควรประเมินการตอบสนองตjอสารน้ํำ
Secondary survey เป็นการตรวจร่างกายอย่างละเอียดหลังจากผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤตแล้ว
ทําหลังจาก primary survey และ Resuscitation จน Vital function เข้าสู่ภาวะปกติแล้ว เพื่อให้ได้ Definite diagnosis ประกอบด้วยการซักประวัติ รวม Mechanism of Injury
การตรวจร่างกาย Head to toe และการตรวจพิเศษต่างๆ
History
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Past illness/ Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Event/ Environment related to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร
Physical Examination
Head
ควรเย็บแผลชั่วคราวเพื่อป้องกันภาวะ Shock
เมื่อบาดแผลลึกถึงกะโหลกศีรษะควรสวมถุงมือ sterile คลําดูกะโหลกศีรษะว่ามีรอยแตกยุบด้วยหรือไม่
Facial
ควรคลํากระดูกใบหน้าให้ทั่วเพื่อหา deformity ที่อาจบ่งบอกfacial fracture
Cervical spine and Neck
พยาบาลจะใส่ Collar ให้ผู้ป่วยและไม่เคลื่อนไหวคอผู้ป่วยจนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าไม่มีการบาดเจ็บของกระดูกคอจากการ X-ray
Chest
การตรวจจะเริ่มจากการมองหารอยช้ำ รอยยุบคลําดูว่ามี Crepitus หรือเจ็บที่จุดใด
หากพบว่ามี Fracture ribs ควรเคาะดูว่าอกด้านใดมีเสียงผิดปกติ ด้านใดทึบหรือด้านใดโปร่งกว่ากัน
Abdomen
ในผู้ป่วยที่บาดเจ็บและเกิดภาวะ Shock ให้สงสัยการบาดเจ็บในช่องท้องและมีการเสียเลือดเกิดขึ้น
ควรตรวจประเมินฝีเย็บ อวัยวะเพศ ทวารหนัก ด้วยเสมอ
ในกรณีที่สงสัยว่ามีการบาดเจ็บของลําไส้ และระบบทางเดินปัสสาวะแพทย์จะพิจารณาทําการตรวจพิเศษโดยการใช้สารทึบแสงหรือ Contrast study เช่น Intravenous pyelography (IVP)
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment
การบาดเจ็บแขนขาจะประเมินบาดแผล การหักงอ บวมผิดรูป ประเมินจุดที่เจ็บ การเคลื่อนไหว คลํา Crepitus
Pelvic fracture
จะตรวจพบ Ecchymosis บริเวณ Iliac wing, Pubis, Labia หรือ Scrotum และเมื่อตรวจ Pelvic compression
ผู้ป่วยจะมี pain on palpation และมี sign of unstability
Neurological system
ประเมิน motor, sensory และต้อง Reevaluation ระดับความรู้สึกตัว pupil size Glasgow coma score
Reevaluation
ในระยะแรกที่ดูแลผู้ป่วยที่บาดเจ็บ ควรมีการประเมินร่างกายซ้ำเป็นระยะๆ เพื่อประเมินหาการบาดเจ็บที่อาจตรวจไม่พบในระยะแรก และเป็นการติดตามการเปลี่ยนแปลงอาการของผู้ป่วย
Definitive care เป็นการรักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทํา secondary survey เรียบร้อยแล้ว เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง
เป็นการรักษาจําพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ ได้แก่การผ่าตัดเพื่อแก้ไขภาวะฉุกเฉินต่างๆ
เช่น Intracranial hematoma, Intra-abdominal bleeding รวมทั้ง multiple organ injury เป็นต้น