Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ - Coggle Diagram
ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
แบ่งตามลักษณะของหลักฐาน
2.เป็นลายลักษณ์อักษร
จดหมายเหตุ
แผนที่
พงศาวดาร
จารึก
1.ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
โบราณวัตถุ
เครื่องมือเครื่องใช้
โบราณสถาน
คำบอกเล่า
ตำนาน
แบ่งตามความสำคัญ
2.หลักฐานชั้นรอง(ทุติยภูมิ)
คือหลักฐานที่เขียนหรือสร้างขึ้น
หลังจ
ากเหตุการณ์ผ่านพ้นไปแล้วโดยผู้เขียนหรือผู้สร้าง
ไม่ได้อยู่ร่วมในเหตุการณ์
หนังสือวิชาการ
พระราชพงศาวดาร
ผ่านการชำระ
สารานุกรม
ตำนาน
หนังสือประวัติศาสตร์
ชีวประวัติ
สื่อสิ่งพิมพ์
วรรณกรรม
1.หลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ)
คือหลักฐานที่เขียนหรือสร้างขึ้น
ในสมั
ยที่เกิดเหตุการณ์โดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์
จดหมายเหตุ
เอกสารราชการ
พงศาวดารที่
ไม่ผ่านการชำระ
โบราณสถาน
โบราณวัตถุ
ภาพถ่าย
บันทึกส่วนบุคคล
แบ่งตามยุคสมัย
สมัยอยุธยา**
3.จดหมายเหตุต่างชาติ
จดหมายเหตุลาลูแบร์
(ราชทูตฝรั่งเศส)
หมิงสื่อลู่
จดหมายเหตุฟานฟลีต
(วันวลิต)ชาวฮอลันดา
จดหมายเหตุของโยสต์
(พ่อค้าฮอลันดา)
2.จดหมายเหตุโหร
คืองานของโหรหลวงบันทึกพระราชกรณียกิจและ
เหตุการณ์ในบ้านเมืองตามลำดับวันที่เกิดเหตุ โดยสรุปสั้นๆ/ต่างจากพงศาวดารที่จดหมายเหตุเป็นบันทึกร่วมสมัย
เช่น
ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก
5.หลักฐานทางโบราณคดีและศิลปกรรม
โบราณสถาน โบราณวัตถุ
1.พระราชพงศาวดาร*
แบ่งเป็น2ประเภท
ยัง
ไม่
ผ่านการชำระ( เป็นข้อมูลตามที่ผู้บันทึกเดิมเขียนไว้๗
**พรพ ฉบับกรุงเก่าหลวงประเสริฐ
พรพ ความเก่าจศ1136
พรพ ฉบับหอสมุดวชิรญาณ
ที่ผ่านการชำระ
(มีการตรวจสอบแก้ไขในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์)าให้เนื้อความและจุดประสงค์แตกต่างไปจากเดิม
พรพ กรุงศรีอยุธยาฉบับจันทนุมาศ (เจิม)
พรพ.กรุงเก่าฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด)
พรพ.กรุงศรีฉบับสมเด็จพระนพรัตน์
พรพ..กรุงสยามจากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน (ตั้งชื่อตามแหล่งที่มา)
พรพ ฉบับพระราชหัตถเลขา (ตั้งชื่อนี้เพราะ ร.4ทรงตรวจแก้ไขและมีลายพระหัตถ์
4.วรรณกรรม
เช่น
ลิลิตโองการแช่งน้ำ ลิลิตยวนพ่าย
สมัยธนบุรี**
3.บันทึกจากเรื่องบอกเล่า
จดหมายเหตุความทรงจำกรมหลวงนรินทรเทวี(กล่างเรื่องก่อนเสียกรุงครั้งที่2-รัตนตอนต้น)
1.พระราชพงศาวดาร
พงศาวดารกรุงธนบุุรีฉบับจันทนุมาศ (ประวัติพระเจ้าตากและเหตุการณ์สมัยธนบุรี)
2.เอกสารชาวต่างชาติ
ชิงสื่อลู่ หรือจดหมายเหตุประจำรัชการของจีนในราชวงศ์ชิง