Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
แนวคิด
Anglo-American Model (AAM)
“Scoop and run” เวลา สําหรับการประคับประคอง อาการในสถานที่เกิดเหตุสั้น และนําผู้ป่วยส่งยังสถาน พยาบาลให้เร็วที่สุด
นําผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
ทีมเวชกิจฉุกเฉินให้การดูแล โดยมีแพทย์กํากับ
ลําเลียงผู้ป่วยส่งตรงห้องฉุกเฉิน
รถ Ambulance เป็นหลัก ใช้ Aero-medical หรือ Coastal ambulance
องค์การที่เกี่ยวข้องการบริการความปลอดภัยของ สาธารณะ เช่น ตํารวจ สถานี ดับเพลิง
ค่าใช้จ่ายสูงกว่า FGM
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการนําส่งไปยังโรงพยาบาล
เพียงจํานวนน้อยที่ได้รับการดูแล ณ จุดเกิดเหตุ
Franco-German Model (FGM)
“Stay and Stabilize” ให้เวลานานในการดูแลอาการ ในสถานที่เกิดเหตุและนําการรักษาไปยังสถานที่เกิดเหตุ
นําบริการโรงพยาบาลมาหาผู้ป่วย
แพทย์ให้การดูแลโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย อาจนําเทคโนโลยีรวมไปให้การดูแลในขั้นสูง
ลําเลียงผู้ป่วยส่งหน่วยเฉพาะทาง
ระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นส่วนหนึ่งขององค์การสาธารณสุข
Ambulance, Helicopter และ Coastal ambulance
ภายใต้บริการจะเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพ
ค่าใช้จ่ายต่ำกว่า AAM
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับการรับการรักษา ณ จุดเกิดเหตุ
เพียงจํานวนน้อยที่นําส่งโรงพยาบาล
ผู้ป่วย
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ไม่รู้สึกตัวชักเป็นอัมพาต
หยุดหายใจหายใจช้ากว่า 10 ครั้งต่อนาทีหรือเร็วกว่า 30 ครั้งต่อนาทีหายใจลําบากหรือหอบเหนื่อย
คลําชีพจรไม่ได้หรือชีพจรช้ากว่า 40 หรือเร็วกว่า 30 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต Systolic ต่ำกว่า 80 มม.ปรอทหรือ Diastolic สูงกว่า 130 มม.ปรอท
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระส่าย
มือเท้าซีดเย็นเหงื่อออกมาก
อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่า 35 เซลเซียสหรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
ถูกพิษจากสัตว์เช่นงูหรือสารพิษชนิดต่าง ๆ
ผู้ป่วยภาวะวิกฤติ
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ เช่น ผู้ป่วยที่หมดสติ ผู้ป่วยที่มีระบบการหายใจล้มเหลว เป็นต้น หาก ไม่ได้รับการรักษาผู้ป่วยจะเสียชีวิตในอัตราสูง
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง เช่น ผู้ป่วย Septic Shock หากไม่ได้รับการรักษา ผู้ป่วยจะเสียชีวิตในอัตราสูง
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มที่จะมีอาการรุนแรง เช่น ผู้ป่วย myocardialin farction ต้องการการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง แม้จะได้รับการรักษา เช่น ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
หลักการพยาบาล พศ 2552
ดําเนินการแก้ไขปญหาที่กําลังคุกคามชีวิตผู้ป่วย
ค้นหาสาเหตุและหรือปัญหาที่ทําให้เกิดภาวะฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ แล้วดําเนินการแก้ไข
ดูแลและรักษาสภาวะของผู้ป่วยให้อยู่ระดับปลอดภัย และคงที่โดยการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่าง ๆ ของอวัยวะสําคัญของร่างกายให้คงไว้
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ประคับประคองจิตใจและอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
D – Detection คือ การประเมินสถานการณ์ว่าเกินกําลังหรือไม่
I - Incident command คือ ระบบการบัญชาเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security คือ การประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards คือ การประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่าง ๆ ที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S – Support คือ การเตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment คือ การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย โดยการใช้หลักการของ MASS Triage Model ( Move, Assess, Sort และ Send) เพื่อคัดแยกผู้ป่วยแบ่งเป็นกลุ่มตาม ID-me (Immediate, Delayed, Minimal, Expectant) ได้อย่างรวดเร็ว
E – Evacuation คือ การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery คือ การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ลักษณะของการปฏิบัติการพยาบาล
ในสถานการณ์สาธารณภัย
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากสาธารณภัยโดยใช้องค์ความรู้และทักษะทางการพยาบาลอย่างเป็นระบบ
ต้องนําความรู้และทักษะทางการพยาบาลทั่วไปและด้านการพยาบาลฉุกเฉินมาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ภัยพิบัติ ทั้งในระยะก่อนเกิดภัยขณะเกิดภัยและหลังเกิดภัย
เป็นการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ
ป้องกันและลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย
มุ่งเน้นด้านการพยาบาลฉุกเฉินแก่ผู้ประสบภัยจํานวนมากในขณะเกิดภัย
การฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ประสบภัยและญาติ
ระบบทางด่วน (Fast track/Pathway system)
สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
การจัดทําควรเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ ประกอบด้วยแพทย์ พยาบาลเจ้าหน้าที่ในส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาร่วมดําเนินการ
จัดทําแผนภูมิการดูแลผู้ป่วยพร้อมกําหนดลักษณะผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนที่เข้าระบบทางด่วน
จัดทําแนวปฏิบัติลําดับการปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงประตูโรงพยาบาลหรือห้องฉุกเฉิน พร้อมกําหนดหน้าที่ต่าง ๆ ของผู้ที่เกี่ยวข้อง
จัดทํารายการตรวจสอบ (check list) สําหรับการลงข้อมูลตรวจสอบข้อมูลต่าง ๆ
ฝีกอบรมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้มีความรู้และสามารถดําเนินการตามระบบทางด่วน
แผนการปฏิบัติต้องเน้นย้ําเวลาเป็นสําคัญ ต้องมีแผนปฏิบัติการรองรับเพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ตามมาตรฐานที่กําหนด
กําหนด clinical indicator เพื่อการติดตามและประเมินผลในแต่ละขั้นตอนของระบบทางด่วน (Fasttrack/Pathway system) สําหรับผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
บทบาทพยาบาลในระบบทางด่วน (Fast track)
EMS (accessibility)
Triage/ Specific triage/ Assessment
Activate system
Flow (purpose-process-performance)
Investigation
Care delivery
Monitoring: early warning signs & E-response
Risk management (general & clinical)
Co-ordination, Communication, Handover
Inter&Intratransportation
Evaluation,output,outcome
Improvement,Innovation,Integration
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
A Airway maintenance with cervical spine protection
เปิดทางเดินหายใจให้โล่งโดยใช้วิธีการ Head-tilt Chin-lift, กรณีผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับอุบัติเหตุ ให้ทําการเปิดทางเดินหายใจด้วยวิธี jaw-thrust maneuver, modified jaw thrust, Triple airway maneuver โดยต้องป้องกันการบาดเจ็บของ Cervical spine ตลอดเวลา
B Breathing and ventilation
พยาบาลควรวินิจฉัยภาวะผิดปกติตั้งแต่ Primary survey ได้แก่ Tension pneumothorax, Flail chest with pulmonary contusion, Massive hemothorax, Open pneumothorax โดยประเมินจาก
การเปิดดูร่องรอยบาดแผลที่บริเวณทรวงอก
ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
คลําการเคาะเพื่อตรวจหาการบาดเจ็บ
ฟัง Breathsound ทั้งสองข้าง
C Circulation with hemorrhagic control
อาการทางระบบประสาท
ผิวหนัง
หัวใจและหลอดเลือด
ระบบหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบทางเดินอาหาร
ภาวะกรดด่างของร่างกาย
E Exposure / environmental control
พลิกตะแคงตัวผู้บาดเจ็บแบบท่อนซุง (Log roll)
D Disability (Neurologic Status)
Glasgow Coma Scale
ประเมินจาก AVPU Scale
การใช้ CPOMR Scale
การตรวจประเมินรูม่านตา ปกติพบว่ารูม่านตา (pupils) 3-4 mm
Resuscitation
Secondary survey
Definitive care
การกู้ชีพ (Resuscitation)
เน้นหลัก ABC
หลัก C Circulation
อย่างน้อยควรเปิดหลอดเลือดดําด้วยเข็มขนาดใหญ่และสั้น 2 เส้น เบอร์ 18,16,14
หลีกเลี่ยงแทงเส้นใต้ตําแหน่งของแขนขาที่ได้รับบาดเจ็บ
กรณีสงสัยว่ามีเลือดออกในช่องท้องหลีกเลี่ยงการให้สารน้ําที่ขาเพราะจะทําให้สารน้ําไหลรั่วเข้าช่องท7อง
ให้สารน้ําที่เป็น Balancesaltsolution
หากอาการทรุดลงไม่ตอบสนองพิจารณาการให้เลือดกรุ๊ปโอซึ่งสามารถให้เลือดทุกหมู่ได้ตามแผนการรักษา
ไม่ควรให้เลือดร่วมกับ LactatedRinger'ssolution,acetar สารน้ําดังกล่าวมีส่วนผสมของแคลเซียมเพราะจะทําให้เลือดอตกตะกอน
หลังได้รับสารน้ําหรือเลือดควรประเมินการตอบสนองต่อสารน้ํา เช่น ชีพจรลดลงความดันโลหิต เพิ่มขึ้นปสสาวะออกมากกว่า 0.5 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง ปลายมือปลายเท้าไม่ซีด อุ่นขึ้น ระดับความรู้สึกตัวดีขึ้น
การประเมินสภาพร่างกายผู้ป่วยที่
ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด (Secondary Survey)
History
Blunt trauma
Penetrating trauma
Physical Examination
Abdomen
Musculoskeletal and Peripheral
vascular assessment
Pelvic fracture
Neurological system
Reevaluation
การรักษาผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บภายหลังได้รับการช่วยเหลือขั้นต้นแล้ว (Definitive Care)
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได7ทํา secondary survey เรียบร้อยแล้ว เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพ โดยตรง เป็นการรักษาจําพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ ได้แก่ การผ่าตัดเพื่อแก้ไขภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ เช่น Intracranial hematoma, Intra-abdominal bleeding รวมทั้ง multiple organ injury