Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะสุดท้าย,…
ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤต และการดูแลระยะสุดท้าย
การแจ้งข่าวร้าย
ความหมาย
ข้อมูลที่ทำให้เกิดความรู้สึกหมดความหวังมีผลกระทบต่อความรู้สึก
การลุกลามของโรคไม่ตอบสนองต่อการรักษาการกลับเป็นซ้ำของโรคความพิการการสูญเสียภาพลักษณ์ของตัวเอง
ข่าวร้ายที่พบได้ในผู้ป่วยวิกฤต
การใส่ท่อช่วยหายใจ
ผลเลือดเป็นบวกหรือติดเชื้อ HIV
การได้รับการเจาะคอ
เป็นมะเร็งระยะลุกลามไม่สามารถรักษาได้
ผู้แจ้งข่าวร้าย
การแจ้งข่าวร้ายแก่ผู้ป่วยหรือญาติเป็นหน้าที่สำคัญของแพทย์ในการแจ้งข่าวร้ายนั้น
แจ้งแก่ผู้ป่วยโดยตรงในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นโรคทางจิตเป็นเด็กและผู้ป่วยที่มีแนวโน้มจะทำร้ายตนเอง
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะต่อรอง
ต่อรองกับตัวเอง คนอรอบข้งหรือแม้กระทั่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ต่อรองจากความผิดหวัง
ระยะซึมเศร้า
เบื่อหน่าย เก็บตัว
ไม่ค่อยพูด ร้องไห้ หงุดหงิด
ออกห่างจากสังคม
ระยะโกรธ
อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว และต่อต้าน
ระยะยอมรับ
ปรับตัวและเรียนรู้เพื่อดำเนินชีวิตต่อไปได้
ระยะปฏิเสธ
จะรู้สึกตกใจ
ไม่ยอมรับความเป็นจริง
ไม่เชื่อ
ไม่เชืื่อผลการรักษา
บทบาทพยาบาล
ในระยะโกรธ ควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติโดยไม่ตัดสิน
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูล
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจ
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดกับผู้ป่วย
รับฟังผู้ป่วยญาติด้วยความเข้าใจ
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิตอย่างมีความหมาย
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับความสุขสบาย
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาติว่า ทีมแพทย์จะดูแลให้ดีที่สุด
ปกป้องผู้ป่วยให้ได้รับประโยชน์
หลักการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายใกล้ตาย
การดูแลด้านอารมณ์และสังคมของผู้ป่วยและครอบครัว
การช่วยปลดเปลื้องสิ่งที่ค้างคาใจ
แนะนำให้ผู้ป่วยปล่อยวางสิ่งต่างๆ
ช่วยให้จิตใจจดจ่อกับสิ่งดีงาม
สร้างบรรยากาศที่สงบและเป็นส่วนตัว
ช่วยให้ผู้ป่วยยอมรับความตายที่จะมาถึง
การดูแลด้านจิตวิญญาณของผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว
สนับสนุนให้มีสถานที่หรือกิจกรรมส่งเสริมด้านจิตวิญญาณเช่นการประกอบพิธีตามศาสนา
สอบถามและส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติตามศรัทธาความเชื่อเพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีความสงบผ่อนคลายในระยะสุดท้าย
ประเมินและบันทึกความต้องการทางจิตวิญญาณในระหว่างการดูแลเป็นระยะ
การดูแลทั่วไป
การดูแลความสะอาดร่างกายให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การจัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาดสงบลดการกระตุ้นที่รบกวนผู้ป่วย
การพักผ่อนนอนหลับ
ดูแลให้ได้รับประชุมครอบครัว
พูดคุยเกี่ยวกับการวางแผนและการคุยเป้าหมายการรักษาสาเหตุที่ควรใช้หัตถการ
การทำประชุมครอบครัวทุกครั้งควรมีการบันทึกไว้เพื่อเป็นหลักฐานทางการแพทย์
สมาชิกที่เข้าร่วมประชุมทั้งฝ่ายผู้ป่วยและทีมสุขภาพ
ผู้ป่วยมีพินัยกรรมชีวิต (advance directives) หรือมีการระบุผู้แทนสุขภาพ (proxy) มาก่อนหรือไม่
ผู้ป่วยเข้าร่วมในการประชุมหรือไม่
สมาชิกครอบครัวที่เข้าร่วมประชุมบุคคลใดคือผู้แทนสุขภาพ
ครอบครัวและผู้แทนทางสุขภาพเข้าใจการพยากรณ์โรคของผู้ป่วย 7
อะไรคือคุณค่าการดำรงชีวิตของผู้ป่วยลักษณะตัวตนของผู้ป่วยเป็นคนอย่างไรความคาดหวังของครอบครัวสิ่งที่ครอบครัวกังวล
วันเวลาสถานที่
เป้าหมายการรักษา
การวางแผนการรักษา
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่างๆ
การช่วยเหลือดูแลทางกายตามอาการที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
อาการไอ
อาการหอบเหนื่อยหายใจลำบาก
อาการท้องมานหรือบวมในท้อง
อาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
อาการปากแห้งเจ็บในปากกลืนลำบาก
อาการบวม
เบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน
อาการคัน
การเกิดแผลกดทับการกดทับ
อาการท้องผูกเกิดจากหลายสาเหตุ
อาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยเมื่อโรครุนแรงเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในโรคมะเร็ง
การดูแลให้ผู้ป่วยและญาติเข้าถึงการวางแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning [ACP]) Advance Care Planning [ACP]
Proxy
บุคคลใกล้ชิดที่ผู้ป่วยมอบหมายให้มีอำนาจตัดสินใจในเรื่องการดูแลทางการแพทย์ในวาระสุดท้ายของตน
บทบาทของพยาบาลในการดูแลให้ผู้ป่วยและญาติเข้าถึงการวางแผนการดูแลล่วงหน้า
การคอยช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยต้องการทำการวางแผนการดูแลล่วงหน้าโดยการจัดหาตัวอย่างของแบบฟอร์ม living will
การรวบรวมเอกสาร
การสื่อสารโดยการสื่อสารร่วมกันระหว่างทีมสุขภาพกับผู้ป่วยและญาติ
Living will หรือพินัยกรรมชีวิตหรือหนังสือแสดงเจตนา
เป็นหนังสือที่เคารพสิทธิของผู้ป่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับชีวิต
เป็นสิทธิในชีวิตร่างกายซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของ“ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์”
การสื่อสาร
ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
มีความเห็นใจครอบครัวที่ต้องประเชิญเหตุการณ์นี้
หลีกเลี่ยงคำศัพท์แพทย์
เปิดโอกาสให้ครอบครัวเล่ารายละเอียดความเป็นตัวตนของผู้ป่วยให้ได้มากที่สุดและมุ่งเน้นที่ประโยชน์ที่ผู้ป่วยจะได้รับเป็นสำคัญ
ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัว
ปล่อยให้มีช่วงเงียบเพื่อให้ญาติได้ทบทวนรวมถึงฟังอย่างตั้งใจทุกครั้งที่ครอบครัว
ควรมีแผ่นพับแนะนำครอบครัวถึงการเตรียมตัวก่อนทำการประชุมครอบครัว
บอกการพยากรณ์โรคที่ตรงจริงที่สุดถ
เนื้อหาที่จะพูดคุยนั้นอาจแบ่งตามช่วงเวลาที่ผู้ป่วยเข้ารักษาในไอซียู
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต (manage dying patient)
เตรียมตัวผู้ป่วย
นำสายต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นออก
ให้คงไว้เพียงการรักษาที่มุ่งเน้น ให้คุมอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
ยุติการรักษาที่ไม่จำเป็น
ควรทำการยุติการให้ผู้ป่วยได้รับยาหย่อนกล้ามเนื้อ (neuromuscular blocking agent)
ทำความสะอาดใบหน้าช่องปากและร่างกายผู้ป่วย
ให้ยาที่มักจำเป็น
ควรปิดประตูหรือปิดม่านให้มิดชิด
อธิบายครอบครัวถึงอาการต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นและวิธีการจัดการช่วงเวลานี้
ยุติการเจาะเลือด
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและเป็นการทำให้ญาติมั่นใจว่าทีมสุขภาพไม่ได้ทอดทิ้งผู้ป่วย
ทำการปิดเครื่องติดตามสัญญาณชีพต่าง ๆ
การดูแลจิตใจผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
หลังจากที่ผู้ป่วยเสียชีวิตไปแล้วทีมสุขภาพอาจทำการแสดงความเสียใจต่อการสูญเสียเป็นปกติที่ครอบครัวจะเสียใจกับการจากไปของผู้ป่วย
คำแนะนำว่าเมื่อไหร่ผู้สูญเสียจำเป็นต้องพบแพทย์หรือนักจิตบำบัดเพื่อปรึกษาปัญหาการสื่อสารที่ดีและดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตอย่างใกล้ชิดสามารถช่วยลดการเกิดความเครียดจากการสูญเสียคนรักได้ (post-traumatic stress disorder)
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวคิดการดูแลตามทฤษฎีความสุขสบาย
ความสงบ ผ่อนคลาย
ความไม่สุขสบายหายไป
อยู่เหนือปัญหา
ความสุขที่อยู่เหนือความไม่สุขสบาย
บรรเทา
ความไม่สบายอยู่ทุเลาลง
แนวคิดการดูแลแบบประคับประคอง
การดูแลระยะสุดท้าย โดยการทำงานเป็นทีมแบบสหวิชาชีพโดยมีผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญและผ่านพ้นช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิตอย่างสงบสบายพร้อมด้วยศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์และสนับสนุนค้ำจุนครอบครัวผู้ป่วยให้สามารถใช้ชีวิตช่วงเวลาวิกฤติกับผู้ป่วยที่ป่วยหนักและตายจากไปอย่างราบรื่น
กิจกรรมการดูแลที่ส่งเสริมความสุขสบายของผู้ป่วยและครอบครัวตามทฤษฎี
ให้กำลังใจ ให้ข้อมูล ความหวัง ชี้แนะ รับฟังช่วยเหลือ
ใส่ใจ เอื้ออาทร และสร้างความเข้มแข็งด้านจิตวิญญาณ
ควบคุมการปวดและความสุขสบาย
มุ่งให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบสุขเพื่อการตายอย่างสงบ
ประเด็นจริยธรรมที่สำคัญในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต การเจ็บป่วยระยะสุดท้ายและภาวะใกล้ตาย
การฆ่าตัวตายโดยความช่วยเหลือของแพทย์ (Physician-assisted suicide)
การฆ่าตัวตายโดยเจตนาและได้รับความช่วยเหลือจากแพทย์
การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำนวน จำกัด
ผู้ป่วยวิกฤตมักจะเกิดความล้มเหลวของอวัยวะต่าง ๆ ในหลายระบบจ
ต้องอาศัยเครื่องมือทางการแพทย์และทรัพยากรอื่น ๆ
ควรคำนึงถึงการเกิดประโยชน์มากที่สุด
การยึดหรือการยุติการรักษาที่ยึดชีวิต
การเพิกถอนการใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา (withdrawal of life-sustaining treatment)
การเพิกถอนใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษาเช่นการเพิกถอนเครื่องช่วยหายใจ
การยับยั้งการใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา (withholding of life-sustaining treatment)
การไม่เริ่มต้นใช้เครื่องมือช่วยชีวิต
การบอกความจริง (Truth telling)
เพื่อการเตรียมตัวเตรียมใจจัดการภาระค้างอยู่ให้เรียบร้อยและผู้ป่วยอาจจะยังมีสติและเวลาในการทำพินัยกรรมก่อนตาย
2) การบอกความจริงบางส่วน
3) การหลอกลวง
1) การบอกความจริงทั้งหมด
4) การประวิงเวลาการบอกความจริง
การุณยฆาต หรือ ปราณีฆาตหรือเมตตามรณะ (mercy killing or euthanasia)
เป็นการทำให้ผู้ป่วยที่หมดหวังจากการรักษาไม่สามารถคืนสู่สภาพปกติและต้องทนทุกข์ทรมานจากโรคร้ายได้
การทำการุณยฆาตโดยตู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้เอง (Involuntary euthanasia)
การทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตโดยเจตนาโดยปล่อยให้เกิดการตายตามธรรมชาติ
การทำการุณยฆาตโดยความสมัครใจ
การที่ผู้ป่วยตระหนักรู้เข้าใจถึงอาการการดำเนินของโรคและทนทุกข์กับความทรมานต่อความเจ็บปวด
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต
มีการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่น ๆ
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่สุขสบายและไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมมากกว่าหอผู้ป่วยอื่น ๆ
มีการสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่าผู้ป่วยอื่นในโรงพยาบาล
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้นๆ มาร่วมดูแลผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์
การดูแลแบบผสมผสาน
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียูเป็ฯผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Professional culture เพื่อมุ่งให้มีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤตการตายของผู้ป่วยอาจทำให้ทีมสุขภาพรู้สึกว่าเป็นความล้มเหลว
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัว
. ทรัพยากรมีจำกัด
Multidisciplinary team
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตไอซียู
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่างและมีแนวโน้มลูกละเลย
ความไม่แน่นอนของอาการ
หลักการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายใกล้ตาย
. การประเมินระดับ Palliative Performance Scale (PPS)
ใช้เป็นเกณฑ์การัดเลือกผู้ป่วยเพื่อเข้าดูแลในสถานที่ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Hospice)
ใช้บอกความยากของภาระงานของบุคลากรทางการแพทย์และครอบครัวในการดูแลผู้ป่วย
เพื่อประเมินพยากรณ์โรคอย่างคร่าวๆและติดตามผลการรักษา
ใช้ในการวิจัย
เพื่อสื่อสารอาการปัจจุบันของผู้ป่วยระหว่างบุคลากรในทีมที่ร่วมกันดูแลผู้ป่วยเพื่อให้มองเห็นภาพของผู้ป่วยและการพยากรณ์โรคไปในแนวทางเดียวกัน
การประเมินสภาพ
การประเมินอาการทางร่างกาย
ระบบหายใจ ได้แก่ อัตราการหายใจเปลี่ยนแปลงลักษณะการหายใจแบบ Cheynes strokes ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจมีสิ่งคัดหลังในปากหรือทางเดินหายใจ
ระบบประสาท ได้แก่ มีความไวต่อแสงจ้ามากขึ้นระดับความรู้สึกตัวลดลงง่วงซึมมาก
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ ความดันโลหิตต่ำลงผิวหนังจะเริ่มเย็นขึ้นขีดจากนั้นจะคล้ำขึ้นตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ระบบการควบคุมหูรูด ได้แก่ ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะและอุจจาระได้หรือมีปัส
ระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียนกลืนลำบากไอสำลักสูญเสียปฏิกิริยาการกลืนและการขย้อน
ระบบขับถ่าย ได้แก่ ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกปัสสาวะสีคล้ำถ่ายเหลวหรือท้องผูก
การประเมินด้านจิตใจผู้ป่วยในระยะสุดท้ายจะมีความผิดปกติทางด้านจิตใจ
ภาวะวิตกกังวล (Anxiety)
ภาวะสับสน (Delirium)
ภาวะซึมเศร้า (Depression)
การประเมินด้านสังคมเมื่อ
ความต้องการของครอบครัว
ผู้ดูแลผู้ป่วย (Care giver) ผู้ป่วยในระยะสุดท้าย
ความรักความผูกพันของผู้ป่วยกับสมาชิกในครอบครัว
ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม
บทบาทของผู้ป่วยในครอบครัว
เครือข่ายทางสังคมและการสนับสนุนทางสังคม
การประเมินด้านจิตวิญญาณ
ความต้องการของผู้ป่วยในด้านจิตเครือข่ายทางสังคมและการสนับสนุนทางสังคมวิญญาณ
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายต้องการการดูแลแบบองค์รวมครอบคลุมด้านร่างกายอารมณ์สังคมและจิตวิญญาณ
ความต้องการการกิจกรรมทางศาสนา
โดยยึดถือตามความเชื่อตามศาสนาวัฒนธรรมความเชื่อของผู้ป่วยและครอบครัว
นางสาวสุธิตา ปู่คำ 6101211085 Sec B