Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล, นางสาวสายหมอก วังตา 61202371 Sec…
บทที่ 10
การจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
ความหมาย ลักษณะของการเรียนรู้ Digital
Literacy หมายถึง การดำเนินชีวิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพได้ในยุคดิจิทัล
Digital Literacy หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือทางเทคนิคและเกี่ยวข้องกับความรู้ความสามารถพื้นฐานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายสารสนเทศในการทำงาน
การเรียนรู้แบบ Digital Learning ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ
ผู้สอนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้สอนทำหน้าที่โค้ช ให้คำชี้แนะ ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะกับการเรียนรู้ Digital
การรู้สื่อ (Media Literacy)
การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual literacy)
การรู้การสื่อสาร (Communication literacy)
การรู้สังคม (Social literacy)
การรู้สารสนเทศ (Information literacy)
การรู้เทคโนโลยี (Technology literacy)
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ Digital
ออกแบบสถานการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการทำงานร่วมกัน (Collaborative working)
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความหลากหลายในลักษณะของการเรียนรู้ส่วนบุคคล (Personalized learning)
เตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรการเรียนรู้ อุปกรณ์การเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้
จัดระบบหรือขั้นตอนการเรียนรู้ให้ชัดเจนว่ากิจกรรมลำดับแรกคืออะไร ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอะไร กิจกรรมลำดับถัดไปคืออะไร ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอะไร
แนวทางการจัดการเรียนรู้ Digital
สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของผู้เรียน
เปิดพื้นที่ให้ผู้เรียนมีอิสระในการเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลตามความคิดของผู้เรียนเอง
กระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาเครื่องมือดิจิทัลใหม่ ๆ
ให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ดิจิทัลในการทำงาน
เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมในการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ดิจิทัลเชิงบูรณาการ
การประเมินการเรียนรู้ Digital
การประเมินการเรียนรู้ โดยอาศัยเครื่องมือและอุปกรณ์ดิจิทัล :
สนับสนุนการวัดและประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนบนพื้นฐานแนวคิดการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ใช้
จุดเน้น การประเมินการเรียนรู้ : ให้ผู้เรียนทราบผลการประเมินและข้อมูลย้อนกลับ(feedback) อย่างรวดเร็ว
การประเมินการเรียนรู้ใน New normal
หลักการ
เปลี่ยนแปลงจากการประเมินเพื่อตัดสินความรู้ความสามารถของผู้เรียน (Judgement) มาเป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Assessment for learning) เน้นการให้ผู้เรียนประเมินตนเอง (Self-assessment)
มุ่งเน้นการประเมินตนเองของผู้เรียนและสะท้อนคิดไปสู่การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (Self-assessment for improvement) โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นโค้ช (Coach)
การประเมินตนเองเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การประเมินเชิงรุกและการประเมินเชิงรับ
การประเมินเชิงรุก (Active assessment) คือ ไม่ต้องรอให้ผู้สอนเป็นผู้ประเมิน แต่ผู้เรียนประเมินตนเองทันที
Growth mindset ของการประเมินใน New normal
สิ่งท้าทายความคิดที่จะนำไปสู่ Growth mindset ของการประเมินใน New normal คือ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนสามารถปรับปรุงและพัฒนาตนเอง
ความสำคัญ
การประเมินตนเองของผู้เรียนจะเป็นวิธีการหลักของการประเมินการเรียนรู้ใน New normal
จุดเน้นคือการให้ผู้เรียนใช้การประเมินตนเองเป็นกระบวนการเรียนรู้ชนิดหนึ่ง (Assessment as Learning
คุณค่าของการประเมินตนเอง
ผู้เรียนได้รับการกระตุ้นวินัยในการเรียนรู้
ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการประเมินตนเอง
ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสะท้อนคิด
ผู้เรียนได้กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับตนเอง
ผู้เรียนได้สะท้อนผลการเรียนรู้และทบ ทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ส่งเสริมคุณลักษณะ บุคคลแห่งการเรียนรู้
บทบาทของผู้สอน
สำหรับการประเมินการเรียนรู้ใน New normal
สร้างบรรยากาศความไว้เนื้อเชื่อใจ (Trust)
กระตุ้นผู้เรียนให้เห็นคุณค่าของการประเมินตนเอง
อำนวยความสะดวกด้านเครื่องมือประเมิน
ตรวจสอบผลการประเมินตนเองของผู้เรียนแล้วให้ข้อมูลย้อนกลับ
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสะท้อนคิดและถอดบทเรียน
นางสาวสายหมอก วังตา 61202371 Sec.17