Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดด้านสุขภาพ, นางสาวเจนจิรา โทสันเทียะ เลขที่ 9 ห้อง A - Coggle Diagram
แนวคิดด้านสุขภาพ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
แนวคิดทางนิเวศวิทยาของพฤติกรรมสุขภาพ
พฤติกรรมการรับประทานอาหารของวัยรุ่น
ระดับองค์กร (organizational)
การเข้าถึงอาหารและราคาอาหารในท้องถิ่น ร้านค้า ภัตราหาร
ระดับชุมชน (community
วัฒนธรรมการรับประทานอาหารของคนในท้องถิ่น
ระดับระหว่างบุคคล (interpersonal)
การเตรียมอาหารในบ้าน
ระดับนโยบายสาธารณะ (public)
การควบคุมปริมาณไขมัน เกลือในฉลากอาหาร การออกข้อบังคับต่าง ๆ
ระดับบุคคล (individual)
ความรู้ด้านอาหาร ทักษะในการทำอาหาร
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
องค์ประกอบของทฤษฎีแบบแผนความเชื่อ
การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค (perceived susceptibility)
ความคิด ความเชื่อ ความรู้สึก และการคาดคะเนของบุคคลเกี่ยวกับโอกาสเสี่ยงที่จะป่วยด้วยโรคใด ๆ ของตนเองว่ามีมากน้อยเพียงใด
การรับรู้ประโยชน์ (perceived benefit)
ความคิด ความเชื่อ ความรู้สึก และการคาดคะเนของบุคคลเกี่ยวกับประโยชน์หรือผลดีที่ตนเองจะได้รับจากการปฏิบัติตามคำแนะนำในการป้องกันหรือรักษาโรค เช่น ลดความรุนแรงของโรค ลดผลกระทบทางสุขภาพ ลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ ความพอใจหรือความรู้สึกด้านคุณค่าในตนเอง เป็นต้น
ปัจจัยร่วม (modifying factors)
ปัจจัยพื้นฐานอื่น ๆ ที่ส่งผลโดยอ้อมต่อพฤติกรรมการป้องกันและรักษาโรคของบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ เชื้อชาติ บุคลิกภาพ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม และความรู้ที่เกี่ยวข้อง
การรับรู้ความรุนแรงของโรค (perceived severity)
ความคิด ความเชื่อ ความรู้สึก และการคาดคะเนของบุคคลที่เกิดจากการประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการป่วยด้วยโรคใด ๆ ทั้งที่มีต่อด้านสุขภาพ ได้แก่ ชีวิต ความพิการ ความสมบูรณ์แข็งแรง การเกิดโรคแทรกซ้อน ความเจ็บปวดทรมาน รวมถึงผลกระทบที่ไม่เกี่ยวกับสุขภาพ เช่น การสูญเสียหน้าที่การงาน ทรัพย์สินเงินทอง และสถานะทางสังคม เป็นต้น
การรับรู้อุปสรรค (perceived barriers
ความคิด ความเชื่อ ความรู้สึก และการคาดคะเนของบุคคลเกี่ยวกับผลกระทบด้านลบที่อาจเกิดตามมาหลังจากปฏิบัติตามคำแนะนำหรือจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่น การเสียค่าใช้จ่าย การทำให้เกิดความอับอายหรือความยากลำบากใจ หรือเป็นการกระทำที่ยุ่งยากหรือทำได้ยาก เป็นต้น
รับรู้ภาวะคุกคาม (perceived threat)
ซึ่งหากบุคคลรับรู้ภาวะคุกคามมากก็จะมีผลทำให้บุคคลนั้น ๆ เกิดความโน้มเอียงที่จะหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงหรือเป็นตัวผลักดันให้บุคคลมีการป้องกันและรักษาโรคนั้น ๆ มากตามไปด้วย
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
การพัฒนาแบบจำลอง การส่งเสริมสุขภาพได้พัฒนามาจากการสังเคราะห์ผลการวิจัยต่าง ๆ ที่เกิดจากการทดสอบแบบจำลองโดยการศึกษาตัวแปรหรือมโนทัศน์ย่อย ๆ ในแบบจำลองซึ่งแบบจำลองที่ได้ปรับปรุงใน ปี ค.ศ. 2006 นี้
ทฤษฎีความสามารถตนเอง
Precontemlation
เป็นระยะที่คนสูบ มองว่า การสูบบุหรี่ ไม่ใช่ปัญหา ใคร ๆ เขาก็สูบกัน
Comtemplation
เป็นระยะที่คนสูบเริ่มตระหนักถึงปัญหาอาจจะเจอคนข้างบ้านป่วยด้วยโรคปอด ก็คิดกลัว แต่ก็ยังสูบ เพราะคิดว่า กว่าจะถึงคิวตัวเองก็อีกนาน หรือคิดอยากจะเลิก แต่รอ “ฤกษ์ดี” เสียก่อน
Action
เป็นระยะที่คนเริ่มลงมืออดบุหรี่ตามแผนที่ได้วางไว้
Preparation
เป็นระยะที่คนสูบเริ่ม ค้นหาวิธีที่จะเลิกสูบบุหรี่ อาจจะใช้ลูกอม นิโคตินแผ่น หรือหมากฝรั่ง
Maintenance
เป็นระยะที่คนอดสูบบุหรี่สำเร็จแล้วในระดับหนึ่ง แต่กลยุทธ์การเลิกบุหรี่ยังคงดำเนินต่อไป จนสามารถเลิกได้ในที่สุด
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
. การรับรู้ความสามารถของตนเอง
การใช้คำพูดชักจูง
ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ
การได้เห็นประสบการณ์ผู้อื่น
การกระตุ้นอารมณ์
ความคาดหวังผลลัพธ์ของการปฏิบัติ
มิติที่เป็นสากลเป็นความคาดหวัง
เกี่ยวกับความสามารถของตนเอง และนำไปปฏิบัติในสถานการณ์ที่คล้ายกัน
มิติความเข้มแข็งของความมั่นใจ
มิติระดับความคาดหวัง
ความคาดหวังของบุคคลในการกระทำสิ่งต่าง ๆ จะผันแปรตามความยากง่ายของงานที่ทำ
นางสาวเจนจิรา โทสันเทียะ เลขที่ 9 ห้อง A