Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตและการดูแลระยะท้ายของชีวิต,…
บทที่ 4 ประเด็นทางจริยธรรมในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตและการดูแลระยะท้ายของชีวิต
การแจ้งข่าวร้าย (Breaking a bad news)
ข้อมูลที่ทำให้เกิดความรู้สึกหมดความหวัง
กระทบต่อความรู้สึกการดำเนินชีวิต
อนาคตของบุคคลนั้น
ข้อมูลที่เป็นข่าวร้าย
การลุกลามของโรคไม่ตอบสนองต่อการรักษา
การกลับเป็นซ้ำของโรค
ความพิการ
การสูญเสียภาพลักษณ์ของตัวเอง
การเป็นโรครุนแรงหรือรักษาไม่หาย
การเสียชีวิต
ข้อมูลที่ได้รับจะเป็นข่าวร้ายรุนแรง
การแปลผลข้อมูลของผู้ป่วยและญาติ
ความคาดหวัง
ความเป็นจริงที่เกิดขึ้น
ความเชื่อและวัฒนธรรม
ข่าวร้ายที่พบได้ในผู้ป่วยวิกฤต
การได้รับการเจาะคอ
การใส่ท่อช่วยหายใจ
ผลเลือดเป็นบวกหรือติดเชื้อ HIV
เป็นมะเร็งระยะลุกลามไม่สามารถรักษาได้
การเกิดโรคแทรกซ้อนที่อาจทำให้เสียชีวิต
การสูญเสียญาติหรือคนเป็นที่รัก
ผู้แจ้งข่าวร้าย
มีความสำคัญ
มีผลกระทบต่อผู้ป่วยและญาติ
ความเครียด
สับสนกังวล
ใจบั่นทอนทำลายความหวัง
กระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างผู้รักษากับผู้ป่วย
เป็นประเด็นด้านกฎหมายและจริยธรรม
ต้องได้รับการฝึกฝนและมีประสบการณ์
วิธีการแจ้งข่าวร้าย
มีข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับแผนการรักษา
ผลการรักษาและการดำเนินโรค
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ปฏิกิริยาจากการรับรู้ข่าวร้าย
ระยะปฏิเสธ (Denial)
เป็นระยะแรกหลังจากผู้ป่วยและญาติรับทราบข้อมูล
รู้สึกตกใจช็อคและปฏิเสธสิ่งที่ได้รับรู้
ไม่ยอมรับความจริง
พูดในลักษณะ
“ ไม่จริงใช่ไหม”
“ คุณหมอแน่ใจรึเปล่าว่าผลการตรวจถูกต้อง”
ระยะโกรธ (Anger)
ภาวะธรรมชาติและเป็นการเยียวยาความรู้สึก
เกิดจากสูญเสียหรือข่าวร้ายที่ได้รับ
ลักษณะอารมณ์รุนแรงก้าวร้าวและต่อต้าน
“ ทำไมต้องเกิดขึ้นกับเรา"
“ ไม่ยุติธรรมเลยทำไมต้องเกิดกับเรา”
ระยะต่อรอง (Bargaining)
ต่อรองความผิดหวังหรือข่าวร้ายที่ได้รับ
แฝงด้วยความรู้สึกผิด
ทำบางอย่างที่ค้างคาหรือยังไม่ได้พูดอะไรกับใคร
ต่อรองกับตัวเองคนรอบข้าง
สิ่งศักดิ์สิทธิ์
ประเมินได้จาก
“ อยากเห็นลูกเรียนจบก่อน”
“ ฉันรู้ว่ามันร้ายแรงคงรักษาไม่หาย แต่ฉันอยาก ... ”
ระยะซึมเศร้า (Depression)
ผู้ป่วยและญาติจะเริ่มรับรู้ว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
หลีกเลี่ยงไม่ได้
ความรู้สึกซึมเศร้าจะเริ่มเกิดขึ้น
ระดับความรุนแรง
ความเข้มแข็ง
บุคคลและสภาพแวดล้อมของแต่ละบุคคล
การแสดงออก
ออกห่างจากสังคมรอบข้าง
เบื่อหน่ายเก็บตัวไม่ค่อยพูด
คุยถามคำตอบคำ
ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
ร้องไห้หงุดหงิดง่ายคิดหมกมุ่นเกี่ยวกับความตาย
ระยะยอมรับ (Acceptance)
เริ่มยอมรับสิ่งต่างๆตามความเป็นจริง
อารมณ์เจ็บปวดหรือซึมเศร้าดีขึ้น
มองเหตุการณ์อย่างพิจารณามากขึ้น
มองเป้าหมายในอนาคตมากขึ้น
ปรับตัวและเรียนรู้เพื่อให้ดำเนินชีวิตต่อไปได้
บทบาทของพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยและครอบครัว
ประเมินการรับรู้ของครอบครัว
สอบถามความรู้สึก
ความต้องการการช่วยเหลือ
รับฟังผู้ป่วยและญาติด้วยความตั้งใจ
ให้ความช่วยเหลือประคับประคองจิตใจ
ในระยะโกรธควรยอมรับพฤติกรรมทางลบของผู้ป่วยและญาติ
ไม่บีบบังคับให้ความโกรธลดลงในทันที
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับข้อมูลการดำเนินโรคแนวทางการรักษา
อธิบายให้ทราบถึงสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
สะท้อนคิดให้ครอบครัวค้นหาเป้าหมายใหม่ในชีวิต
จัดการกับอาการที่รบกวนผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับความสุขสบาย
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยและญาติว่าแพทย์และทีมสุขภาพทุกคน
ทำหน้าที่แทนผู้ป่วยในการเรียกร้องปกป้องผู้ป่วยให้ได้
ให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการรักษา
ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามความเชื่อ
ให้การช่วยเหลือในการจัดการสิ่งที่ค้างคาในใจเพื่อให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบ
หออภิบาลผู้ป่วยวิกฤติหรือไอซียู
หอผู้ป่วยที่มีศักยภาพสูงในการดูแล
มีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ทันสมัย
ทีมสุขภาพล้วนมีจุดมุ่งหมายในการรักษาเพื่อให้ผู้ป่วยรอดพ้น
เพิ่มโอกาสรอดชีวิตให้สูงขึ้น
ตั้งเป้าให้ผู้ป่วยกลับไปดำรงชีวิตได้ดังเดิม
การดูแลรักษาของทีมแพทย์และพยาบาล
มุ่งรักษาให้ผู้ป่วยหาย
palliative care ไม่ได้มุ่งเน้นที่การหายจากตัวโรค
ควรทำเมื่อผู้ป่วยใกล้เสียชีวิต
มโนทัศน์เกี่ยวกับการเจ็บป่วยระยะท้ายและภาวะใกล้ตาย
การเจ็บป่วยระยะท้าย
ภาวะบุคคลอยู่ในภาวะความเจ็บป่วย
คุกคามต่อชีวิต
การดำเนินโรคลุกลามอย่างมาก
การทำหน้าที่ของอวัยวะ
ไม่สามารถกลับคืนสู่ภาวะปกติ
ไม่สามาถบำบัดรักษาเพื่อให้หายขาด
ดูแลแบบประคับประคอง
ภาวะใกล้ตาย
ผู้ที่เข้าสู่ช่วงใกล้เสียชีวิต
เปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
อวัยวะสำคัญของร่างกายลดลงหรือล้มเหลว
มีค่าคะแนน Palliative performance Scale (PPs) น้อยกว่า 30
ประคับประคองหรือการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
วิธีการดูแลที่มุ่งเน้นเป้าหมาย
เพิ่มคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วย
มีโรคหรือภาวะคุกคามต่อชีวิต
การป้องกันและบรรเทาความทุกข์ทรมาน
ไม่ใช่การเร่งการตาย
ไม่ยื้อความตาย
ไม่ใช่การุ ณ ฆาต
ยอมรับสภาวะที่เกิดขึ้นและยอมให้ผู้ป่วยเสียชีวิตตามธรรมชาติ
แนวคิดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แนวคิดการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care)
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต
มุ่งเน้นในช่วงของการเจ็บป่วยในช่วงปีหรือเดือนท้าย ๆ
อาการและปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยในระยะสุดท้าย
กำเนิดตั้งแต่เริ่มเจ็บป่วย
ไม่ได้รับการบำบัดแก้ไขตั้งแต่แรก
เป็นเรื่องยากในการบริหารจัดการในวันท้าย ๆ ของชีวิต
แนวคิดการดูแลตามทฤษฎีความสุขสบาย (comfort theory)
ทฤษฎีความสุขสบาย (comfort theory)
เน้นความสุขสบายที่เป็นผลลัพธ์ของการพยาบาล
บุคคลได้รับความต้องการทันทีเพื่อบรรเทา (relief)
สงบผ่อนคลาย (ease)
ควบคุมสถานการณ์ได้หรืออยู่เหนือปัญหา (transcendence)
ครอบคลุมบริบท
ร่างกาย (physical comfort)
จิตใจ-จิตวิญญาณ (psycho spiritual comfort)
สังคมวัฒนธรรม (Sociocultural comfort)
สิ่งแวดล้อม (environmental Comfort)
ความสุขสบาย
บรรเทา (relief)
ความไม่สุขสบายที่มีอยู่ทุเลาเบาบางลง
2) ความสงบผ่อนคลาย (ease)
ความไม่สุขสบายหายไปหรือสงบผ่อนคลาย
3) อยู่เหนือปัญหา (transcendence)
ความสุขที่อยู่เหนือความไม่สุขสบายทั้งปวงแม้ว่าจะไม่สามารถขจัดหรือหลีกเลี่ยงได้
กิจกรรมการดูแลที่ส่งเสริมความสุขสบายของผู้ป่วยและครอบครัวตามทฤษฎี
มาตรฐานการพยาบาลเพื่อความสุขสบายเพื่อรักษาความสมดุลของร่างกาย (Homeostasis)
ควบคุมความปวด
ความไม่สุขสบายต่าง ๆ
การสอนแนะนำเป็นพี่เลี้ยง (Coaching)
ให้กำลังใจให้ข้อมูลความหวังชี้แนะ
รับฟังและช่วยเหลือเพื่อวางแผนฟื้นฟูสภาพ
อาหารด้านจิตวิญญาณ (Comfort food for the soul)
ดูแลใส่ใจเอื้ออาทร
สร้างความเข้มแข็งด้านจิตวิญญาณเช่นจินตบำบัดการนวด
การดูแลแบบประคับประคองมุ่งให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบหรือตายดี (Good death)
บุคคลในครอบครัวได้มีโอกาสอำลากันและกัน
สร้างความเข้มแข็งให้ผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อการตายอย่างสงบ
ประเด็นจริยธรรมที่สำคัญในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตการเจ็บป่วยระยะท้ายและภาวะใกล้ตาย
การุ ณ ยฆาตหรือปราณีฆาตหรือเมตตามรณะ (mercy kitting or euthanasia)
ทำให้ผู้ป่วยที่หมดหวังจากการรักษาไม่สามารถคืนสู่สภาพปกติ
แพทย์ตัวผู้ป่วยและญาติมีความเห็นตรงกัน
ยุติความทุกข์ทรมานของผู้ป่วยคือการตายที่สงบ
แบ่งได้ 2 ประเภท
1 การทำการุ ณ ยฆาตโดยความสมัครใจ (Voluntary euthanasia)
ผู้ป่วยตระหนักรู้เข้าใจถึงอาการ
ทนทุกข์กับความทรมานต่อความเจ็บปวด
ผู้ป่วยร้องขอให้ยุติการรักษา
ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตโดยเจตนาตามความประสงค์ของผู้ป่วย
2 การทำการุ ณ ยฆาตโดยตู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้เอง (Involuntary euthanasia)
ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิต
เกิดการตายตามธรรมชาติตามพยาธิสภาพของโรค
ปราศจากการช่วยชีวิต
แพทย์จะต้องมีข้อพิจารณา
1) เมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะเจ็บปวดทรมานอย่างแสนสาหัส
2) สิทธิส่วนบุคคลที่จะยุติชีวิตลง
3) บุคคลไม่ควรจะถูกบังคับให้ยืดชีวิตออกไปในสภาพที่ช่วยตนเองไม่ได้และไร้การรับรู้ทางสมอง
2. การยึดหรือการยุติการรักษาที่ยึดชีวิต
2.1 การยับยั้งการใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา (withholding of life-sustaining treatment)
ไม่เริ่มต้นใช้เครื่องมือช่วยชีวิต
2.2 การเพิกถอนการใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา (withdrawal of life-Sustaining treatment)
เพิกถอนใช้เครื่องมือช่วยชีวิตในการบำบัดรักษา
การเพิกถอนเครื่องช่วยหายใจ
การฆ่าตัวตายโดยความช่วยเหลือของแพทย์ (Physician-assisted suicide)
การฆ่าตัวตายโดยเจตนา
ได้รับความช่วยเหลือจากแพทย์
อาจทำให้ผู้นั้นสามารถฆ่าตัวตายได้สำเร็จ
การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำนวนจำกัด
เกิดความล้มเหลวของอวัยวะต่าง ๆ ในหลายระบบ
ต้องอาศัยเครื่องมือทางการแพทย์
การจัดสรรทรัพยากรจึงควรคำนึงถึงการเกิดประโยชน์มากที่สุด
พิจารณาจากผลการรักษาว่ามีโอกาสประสบความสำเร็จ
ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางให้มีประโยชน์มากที่สุดและยุติธรรม
การบอกความจริง (Truth telling)
แพทย์ควรบอกให้ผู้ป่วยและญาติทราบ
เตรียมตัวเตรียมใจจัดการภาระค้างอยู่ให้เรียบร้อย
ผู้ป่วยอาจจะยังมีสติและเวลาในการทำพินัยกรรม
1) การบอกความจริงทั้งหมด
2) การบอกความจริงบางส่วน
3) การหลอกลวง
4) การประวิงเวลาการบอกความจริง
การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ (Organ transplantation)
วิวัฒนาการในการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ
ผู้ป่วยมีชีวิตยืดยาวออกไป
ต้องพิจารณาเกี่ยวกับโอกาสรอดชีวิตหลังผ่าตัด
ระยะเวลาการมีชีวิตอยู่หลังผ่าตัด
การซื้อขายอวัยวะ
เป็นประเด็นปัญหาทางจริยธรรม
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางจริยธรรม
ให้ความรู้แก่พยาบาลในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
2.จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
การประชุมก่อนและหลังการพยาบาล
จัดตั้งคณะกรรมการด้านจริยธรรมในโรงพยาบาล
จัดทำคู่มือแนวทางปฏิบัติ
รู้ถึงสิทธิและหน้าที่ของพยาบาล
สิทธิและความรับผิดชอบ
รายละเอียดเกี่ยวกับความรู้ความสามารถ
ชี้แจงต่อหน่วยงานหรือถอนตัวจากสถานการณ์
จริยธรรมสำหรับการทำงานของทีมสุขภาพ
ความเคารพซึ่งกันและกันรู้จักขอบเขตหน้าที่
รับผิดชอบต่อความปลอดภัยของผู้รับบริการ
ทำตนให้เป็นกัลยาณมิตรซึ่งกันและกัน
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิต (End of life care in ICU)
สนับสนุนให้มีการทำ Family meeting
ต้องการและสื่อสารกับผู้ป่วยและครอบครัว
มีสหวิชาชีพเข้ามามีส่วนร่วมในการดุแลผู้ป่วยและครอบครัว
มีการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตน้อยกว่าหอผู้ป่วยอื่น ๆ
ผู้ป่วยที่มีอาการไม่สุขสบายและไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมมากกว่าหอผู้ป่วยอื่น ๆ
มีการสื่อสารในหัวข้อแผนการรักษาน้อยกว่าผู้ป่วยอื่นในโรงพยาบาล
ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตและทั่วไป
Professional culture
มุ่งให้มีชีวิตรอดพ้นจากภาวะวิกฤตการตาย
ผู้ป่วยอาจทำให้ทีมสุขภาพรู้สึกว่าเป็นความล้มเหลว
ความคาดหวังของผู้ป่วยและครอบครัวผู้ป่วยที่
ผู้ป่วยวิกฤติมักขาดการเตรียมตัวเพื่อรับมือ
ภาวะสุขภาพที่ทรุดลงอย่างเฉียบพลัน
มีความคาดหวังสูงที่จะดีขึ้น
ความไม่แน่นอนของอาการการรักษาในไอซียู
มีโอกาสที่จะดีขึ้นแล้วกลับไปทรุดลงได้หลายครั้ง
Multidisciplinary team
ดูแลรักษาร่วมกันมากกว่า 1 สาขา
การรักษาอวัยวะที่ตนรับผิดชอบ
ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤติมีอาการไม่สุขสบายหลายอย่าง
แนวโน้มลูกละเลย
ทีมสุขภาพมักมุ่งประเด็นไปที่การหายของโรคมากกว่าความสุขสบายของผู้ป่วย
ทรัพยากรมีจำกัด
อุปกรณ์หรือเครื่องมือต่าง ๆ มี จำกัด
พิจารณาใช้กับผู้ป่วยที่มีโอกาสจะรักษา
สิ่งแวดล้อมในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตไอซียู
พลุกพล่านวุ่นวายมีเสียงสัญญาณเตือนดังเกือบตลอดเวลา
สถานที่สุดท้ายก่อนผู้ป่วยจะจากไป
หลักการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤต
ทีมสุขภาพที่ทำงานในไอซียูเป็นผู้เริ่มลงมือด้วยตนเอง
การประเมินความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
การปรึกษาทีม palliative care ของโรงพยาบาลนั้น ๆ
ICU admission after hospital stay at least 10 days
Multi system / organ failure at least three systems
Diagnosis of active stage IV malignancy (metastatic disease)
Status post cardiac arrest
Diagnosis of intracerebral hemorrhage requiring mechanical ventilation
Terminal dementia, Surprise question "No"
การดูแลแบบผสมผสานหลักการพยาบาลแบบองค์รวมที่ผสมผสานภูมิปัญญาตะวันออก
1) ระบบการแพทย์เฉพาะเช่นแพทย์แผนไทยแพทย์แผนจีน
2) การผสมผสานกายจิตเช่นสวดมนต์ทำสมาธิโยคะ
3) อาหารและสมุนไพรเช่นอาหารสุขภาพ
4) พลังบำบัดเช่นสัมผัสบำบัดโยเร
หลักการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายใกล้ตาย
การประเมินสภาพ
1 การประเมินอาการทางร่างกาย
ประเมินอาการไม่สุขสบายความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ป่วย
อาการที่พบบ่อยในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
อาการปวดอ่อนแรง
เหนื่อยล้า
ปากแห้ง
ปัญหาของผิวหนัง
เป็นแผล (Ulcers)
ผื่นคัน (Pruritus)
อาการและอาการแสดงตามระบบต่าง ๆ
1) ระบบทางเดินอาหาร
คลื่นไส้อาเจียนกลืนลำบากไอสำลัก
สูญเสียปฏิกิริยาการกลืนและการขย้อน
รับประทานอหารและน้ำได้น้อยลง
น้ำหนักตัวลดลง
2) ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ความดันโลหิตต่ำลง
ผิวหนังจะเริ่มเย็นขึ้นซีด
คล้ำขึ้นตามส่วนต่าง ๆ
3) ระบบหายใจ
อัตราการหายใจเปลี่ยนแปลง
การหายใจแบบ Cheynes strokes
หายใจมีสิ่งคัดหลังในปากหรือทางเดินหายใจ
4) ระบบประสาท
มีความไวต่อแสงจ้ามากขึ้น
ระดับความรู้สึกตัวลดลงง่วงซึมมาก
ปลุกตื่นยาก
การรับรู้ประสาทหูคงอยู่ในระยะท้าย
5) ระบบการควบคุมหูรูด
ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะและอุจจาระ
ติดเชื้อเฉพาะตำแหน่งบริเวณ perineum
6) ระบบขับถ่าย
ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกปัสสาวะ
คล้ำถ่ายเหลวหรือท้องผูก
2 การประเมินด้านจิตใจ
1) ภาวะซึมเศร้า (Depression)
2) ภาวะวิตกกังวล (Anxiety)
3) ภาวะสับสน (Delirium)
3 การประเมินด้านสังคม
1) บทบาทของผู้ป่วยในครอบครัว
2) ความรักความผูกพันของผู้ป่วยกับสมาชิกในครอบครัว
3) ความต้องการของครอบครัว
4) ผู้ดูแลผู้ป่วย (Care giver)
5) ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม
6) เครือข่ายทางสังคมและการสนับสนุนทางสังคม
4 การประเมินด้านจิตวิญญาณ
ปรัชญาชีวิตเป้าหมายชีวิต
คุณค่าทางด้านจิตใจความเชื่อทางศาสนา
การประเมินระดับ Palliative Performance Scale (PPS)
จุดประสงค์ของการใช้ Pps
เพื่อสื่อสารอาการปัจจุบันของผู้ป่วยระหว่างบุคลากรในทีม
เพื่อประเมินพยากรณ์โรคอย่างคร่าวๆและติดตามผลการรักษา
ใช้เป็นเกณฑ์การัดเลือกผู้ป่วยเพื่อเข้าดูแลในสถานที่ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Hospice)
ใช้บอกความยากของภาระงานของบุคลากรทางการแพทย์และครอบครัวในการดูแลผู้ป่วย
ใช้ในการวิจัย
หลักการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายใกล้ตาย
การสื่อสาร
1) ควรมีแผ่นพับแนะนำครอบครัวถึงการเตรียมตัวก่อนทำการประชุมครอบครัว
2) ปิดเครื่องมือสื่อสารทุกครั้งที่พูดคุยกับครอบครัวสถานที่ควรเป็นห้องที่เป็นส่วนตัวไม่มีการรบกวน
3) หลีกเลี่ยงคำศัพท์แพทย์
4) ให้เกียรติครอบครัวโดยการฟังอย่างตั้งใจและให้เสนอความคิดเห็น
5) มีความเห็นใจครอบครัวที่ต้องประเชิญเหตุการณ์นี้
6) บทสนทนาควรเน้นที่ตัวตนของผู้ป่วยมากกว่าโรค
7) ปล่อยให้มีช่วงเงียบเพื่อให้ญาติได้ทบทวน
8 บอกการพยากรณ์โรคที่ตรงจริงที่สุด
9) เนื้อหาที่จะพูดคุยนั้นอาจแบ่งตามช่วงเวลาที่ผู้ป่วยเข้ารักษาในไอซียู
การจัดการอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ
1 อาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยเมื่อโรครุนแรงเพิ่มขึ้น
โรคมะเร็ง
2 อาการท้องผูก
เคลื่อนไหวร่างกายน้อยได้รับอาหารปริมาณน้อย
.3 เบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน
ดูแลควรจัดอาหารที่ย่อยง่ายครั้งละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้ง
4 อาการปากแห้งเจ็บในปากกลืนลำบาก
ทำความสะอาดในช่องปากทุกวันอย่างน้อยวันละสองครั้ง
ตื่นนอนเช้าและก่อนนอน
5 อาการท้องมานหรือบวมในท้อง
โรคมะเร็งรังไข่
โรคมะเร็งตับ
6 อาการไอ
ระวังการสำลักขณะได้รับอาหาร
7 อาการหอบเหนื่อยหายใจลำบาก
ศีรษะสูงเล็กน้อยเพื่อให้หน้าอกขยาย
.8 อาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้
หมั่นเปลี่ยนผ้ารอง (ผ้าอ้อม)
9 อาการบวม
การอุดตันของระบบน้ำเหลืองและหลอดเลือด
ดูแลควรดูแลอย่าให้เกิดแผล
ป้องกันการติดเชื้อ
10 อาการคัน
ผิวแห้งอับชื้นระคายเคืองจาก
ปัสสาวะหรืออุจจาระ
หลีกเลี่ยงการเกา
ใส่เสื้อผ้าเนื้อนุ่มและหลวม
11 การเกิดแผลกดทับ
พลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง
จัดหาเตียงลมหรือที่นอนน้ำ
นอนสบาย
กระจายน้ำหนักตัวไม่กดลงจุดใดจุดหนึ่ง
การดูแลทั่วไป
ดูแลความสะอาดร่างกาย
ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การพักผ่อนนอนหลับควรจัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาดสงบ
การดูแลด้านอารมณ์และสังคม
1 ช่วยให้ผู้ป่วยยอมรับความตาย
ให้เวลาฟังความรู้สึกจากผู้ป่วย
อาศัยสัมพันธภาพที่ดีของผู้ดูแลด้วย
2 ช่วยให้จิตใจจดจ่อกับสิ่งดีงาม
นำสิ่งที่ผู้ป่วยเคารพนับถือมาไว้ที่ห้อง
3 การช่วยปลดเปลื้องสิ่งที่ค้างคาใจ
ภาระกิจการงานที่ยังคั่งค้างทรัพย์สมบัติ
4 แนะนำให้ผู้ป่วยปล่อยวางสิ่งต่างๆ
5 สร้างบรรยากาศที่สงบและเป็นส่วนตัว
การดูแลด้านจิตวิญญาณผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว
1 ประเมินและบันทึกความต้องการทางจิตวิญญาณในระหว่างการดูแลเป็นระยะ
2 สนับสนุนให้มีสถานที่หรือกิจกรรมส่งเสริมด้านจิตวิญญาณเช่นการประกอบพิธีตามศาสนา
3 สอบถามและส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติตามศรัทธาความเชื่อ
ดูแลให้ได้รับการประชุมครอบครัว (Family meeting)
การดูแลให้ผู้ป่วยและญาติเข้าถึงการวางแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning [ACP])
1 Living will
พินัยกรรมชีวิต
2 Proxy
บุคคลใกล้ชิดที่ผู้ป่วยมอบหมายให้มีอำนาจตัดสินใจ
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังจะเสียชีวิต (manage dying patient)
จัดสิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วยวิกฤติให้สงบที่สุด
ให้ครอบครัวคนใกล้ชิดอยู่ด้วยเท่านั้น
การดูแลจิตใจครอบครัวผู้ป่วยต่อเนื่อง (bereavement care)
ไม่ควรพูดคำบางคำเช่น“ ไม่เป็นไร”“ ไม่ต้องร้องไห้”
พบแพทย์หรือนักจิตบำบัด
ปรึกษาปัญหาการสื่อสารที่ดี
ดูแลช่วงใกล้เสียชีวิตอย่างใกล้ชิด
ลดการเกิดความเครียดจากการสูญเสียคนรักได้ (post-traumatic stress disorder)
นางสาวกิ่งกาญจน์ ไชยยาติ๊บ 6101210576 เลขที่ 24